ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีการเลือกตั้งภายใน 45 วันหลังจากหมดวาระ ซึ่งจะตรงกับ
วันที่ประมาณ 20 กุมภาพันธ์ 2548 แต่เดิมมีการกำหนดจะเลือกตั้ง วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2548
แต่มีกระแสข่าวว่าจะขอเลื่อนเร็วขึ้น มาเป็นวันที่ 30 มกราคม 2548 “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,116 คน
(ชาย 353 คน 31.63% หญิง 763 คน 68.37%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชน เห็นด้วยหรือไม่? กับการเลือกตั้งให้เร็วขึ้นจาก 13 กุมภาพันธ์ 2548
มาเป็น 30 มกราคม 2548
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย เพราะ 35.53% 35.21% 35.37%
อันดับที่ 1 ทำให้ได้รับทราบผลการเลือกตั้งเร็วขึ้น 61.91% 62.22% 62.06%
อันดับที่ 2 ทำให้มีการบริหารงานได้อย่างต่อเนื่อง/ไม่หยุดชะงัก 38.09% 37.78% 37.94%
อันดับที่ 2 เฉยๆ เพราะ 32.89% 34.74% 33.81%
อันดับที่ 1 จะเลือกเร็วเลือกช้าก็ต้องเลือกเหมือนกัน 33.33% 68.18% 50.76%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ของประชาชนที่ต้องไปเลือกอยู่แล้ว 66.67% 31.82% 49.24%
อันดับที่ 3 ไม่เห็นด้วย เพราะ 31.58% 30.05% 30.82%
อันดับที่ 1 ควรให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่กำหนดไว้เดิมดีอยู่แล้ว 50.00% 21.43% 35.72%
อันดับที่ 2 จะทำให้มีเวลาในการศึกษาผู้สมัครและตัดสินใจน้อยลง/
ควรให้เวลาในการตัดสินใจ 22.22% 46.43% 34.32%
อันดับที่ 3 ความพร้อมและปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศยังไม่สงบ
โดยเฉพาะปัญหาภาคใต้ 27.78% 32.14% 29.96%
2. ประชาชน คิดว่าการเลื่อนการเลือกตั้งให้เร็วขึ้น จะก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้เปรียบหรือเสียเปรียบ เพราะ 45.34% 33.96% 39.65%
อันดับที่ 1 คิดว่าพรรคการเมืองแต่ละพรรคมีการเตรียมพร้อมที่ดี
และมีการเตรียมตัวมานาน 55.17% 62.07% 58.62%
อันดับที่ 2 ประชาชนได้เห็นหน้าผู้สมัครและทราบนโยบายบ้างแล้ว 31.03% 20.68% 25.86%
อันดับที่ 3 ทุกอย่างอยู่ที่ประชาชนเป็นผู้ตัดสิน 13.80% 17.25% 15.52%
อันดับที่ 2 ทำให้ได้เปรียบเสียเปรียบเท่ากัน เพราะ 29.33% 39.15% 34.24%
อันดับที่ 1 ฝ่ายรัฐบาลได้เปรียบมากกว่าเพราะมีเวลาในการ
ประชาสัมพันธ์และประชาชนเห็นความเคลื่อนไหวอยู่ตลอด 34.21% 61.54% 47.88%
อันดับที่ 2 เวลากระชั้นชิดมากขึ้น ทำให้ไม่มีเวลาเตรียมตัว
ในการหาเสียง 52.63% 21.15% 36.89%
อันดับที่ 3 พรรคที่ก่อตั้งมานานจะได้เปรียบในเรื่องของฐานเสียง
และเป็นที่รู้จักของประชาชนดีอยู่แล้ว 13.16% 17.31% 15.23%
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ เพราะ 25.33% 26.89% 26.11%
อันดับที่ 1 คงเป็นเรื่องโอกาสของแต่ละฝ่ายมากกว่า 52.38% 51.85% 52.12%
อันดับที่ 2 ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด 28.57% 25.93% 27.25%
อันดับที่ 3 อาจจะเสียเปรียบในการหาเสียงเพราะเวลาสั้นลง 19.05% 22.22% 20.63%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
วันที่ประมาณ 20 กุมภาพันธ์ 2548 แต่เดิมมีการกำหนดจะเลือกตั้ง วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2548
แต่มีกระแสข่าวว่าจะขอเลื่อนเร็วขึ้น มาเป็นวันที่ 30 มกราคม 2548 “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ จำนวนทั้งสิ้น 1,116 คน
(ชาย 353 คน 31.63% หญิง 763 คน 68.37%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547
สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชน เห็นด้วยหรือไม่? กับการเลือกตั้งให้เร็วขึ้นจาก 13 กุมภาพันธ์ 2548
มาเป็น 30 มกราคม 2548
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย เพราะ 35.53% 35.21% 35.37%
อันดับที่ 1 ทำให้ได้รับทราบผลการเลือกตั้งเร็วขึ้น 61.91% 62.22% 62.06%
อันดับที่ 2 ทำให้มีการบริหารงานได้อย่างต่อเนื่อง/ไม่หยุดชะงัก 38.09% 37.78% 37.94%
อันดับที่ 2 เฉยๆ เพราะ 32.89% 34.74% 33.81%
อันดับที่ 1 จะเลือกเร็วเลือกช้าก็ต้องเลือกเหมือนกัน 33.33% 68.18% 50.76%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ของประชาชนที่ต้องไปเลือกอยู่แล้ว 66.67% 31.82% 49.24%
อันดับที่ 3 ไม่เห็นด้วย เพราะ 31.58% 30.05% 30.82%
อันดับที่ 1 ควรให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่กำหนดไว้เดิมดีอยู่แล้ว 50.00% 21.43% 35.72%
อันดับที่ 2 จะทำให้มีเวลาในการศึกษาผู้สมัครและตัดสินใจน้อยลง/
ควรให้เวลาในการตัดสินใจ 22.22% 46.43% 34.32%
อันดับที่ 3 ความพร้อมและปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศยังไม่สงบ
โดยเฉพาะปัญหาภาคใต้ 27.78% 32.14% 29.96%
2. ประชาชน คิดว่าการเลื่อนการเลือกตั้งให้เร็วขึ้น จะก่อให้เกิดการได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไร?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้เปรียบหรือเสียเปรียบ เพราะ 45.34% 33.96% 39.65%
อันดับที่ 1 คิดว่าพรรคการเมืองแต่ละพรรคมีการเตรียมพร้อมที่ดี
และมีการเตรียมตัวมานาน 55.17% 62.07% 58.62%
อันดับที่ 2 ประชาชนได้เห็นหน้าผู้สมัครและทราบนโยบายบ้างแล้ว 31.03% 20.68% 25.86%
อันดับที่ 3 ทุกอย่างอยู่ที่ประชาชนเป็นผู้ตัดสิน 13.80% 17.25% 15.52%
อันดับที่ 2 ทำให้ได้เปรียบเสียเปรียบเท่ากัน เพราะ 29.33% 39.15% 34.24%
อันดับที่ 1 ฝ่ายรัฐบาลได้เปรียบมากกว่าเพราะมีเวลาในการ
ประชาสัมพันธ์และประชาชนเห็นความเคลื่อนไหวอยู่ตลอด 34.21% 61.54% 47.88%
อันดับที่ 2 เวลากระชั้นชิดมากขึ้น ทำให้ไม่มีเวลาเตรียมตัว
ในการหาเสียง 52.63% 21.15% 36.89%
อันดับที่ 3 พรรคที่ก่อตั้งมานานจะได้เปรียบในเรื่องของฐานเสียง
และเป็นที่รู้จักของประชาชนดีอยู่แล้ว 13.16% 17.31% 15.23%
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ เพราะ 25.33% 26.89% 26.11%
อันดับที่ 1 คงเป็นเรื่องโอกาสของแต่ละฝ่ายมากกว่า 52.38% 51.85% 52.12%
อันดับที่ 2 ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด 28.57% 25.93% 27.25%
อันดับที่ 3 อาจจะเสียเปรียบในการหาเสียงเพราะเวลาสั้นลง 19.05% 22.22% 20.63%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-