ในต้นปี 48 จะมีการเลือกตั้ง ส.ส. ครั้งใหญ่ ทำให้มีการแข่งขันของผู้สมัคร ส.ส. หลายพรรคและหลายพื้นที่ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ เกี่ยวกับการเลือกตั้ง ส.ส. ในต้นปีหน้า จำนวนทั้งสิ้น 1,258 คน (ชาย 408 คน 32.44% หญิง 850 คน 67.56%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 6 — 7 ธันวาคม 2547 สรุปผลได้ดังนี้
1. ปัจจัยที่มีผลต่อการจะเลือก ส.ส. ในปีหน้าของ “คนกรุงเทพฯ”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ตัวผู้สมัคร 18.48% 18.82% 18.72%
อันดับที่ 2 ผลงานที่ผ่านมา 18.64% 18.08% 18.25%
อันดับที่ 3 นโยบาย 18.48% 17.74% 17.97%
อันดับที่ 4 พรรคที่สังกัด 16.52% 16.66% 16.61%
อันดับที่ 5 หัวหน้าพรรค 15.61% 15.84% 15.77%
อันดับที่ 6 การหาเสียง 11.52% 12.59% 12.26%
* อื่นๆ เช่น ความรู้ความสามารถของผู้สมัคร,การศึกษา ฯลฯ
0.61% 0.14% 0.28%
* ไม่ระบุ 0.15% 0.14% 0.14%
2. การที่ผู้สมัครเคยเป็น ส.ส. มาแล้ว มีผลต่อการตัดสินใจของ “คนกรุงเทพฯ” ที่จะเลือกคนนั้นเป็น ส.ส. อีกหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผล 59.24% 70.03% 66.53%
เพราะ การทำงานจะได้สานต่อ,เคยมีประสบการณ์ในการทำงานมาแล้ว,
ชอบ ส.ส. คนเดิมที่เป็นอยู่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 40.76% 29.97% 33.47%
เพราะ ดูที่ตัวบุคคล,ดูที่ผลงาน,ดูที่นโยบายของแต่ละผู้สมัคร,
อยากได้คนใหม่ๆมาบริหารบ้านเมืองบ้าง ฯลฯ
3. การเป็น ส.ส. ของพรรครัฐบาลมีผลต่อ “คนกรุงเทพฯ” ในการเลือกเลือก ส.ส. ในปีหน้าหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผล 54.78% 61.77% 59.50%
เพราะ มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรมมากกว่าผู้สมัครใหม่,การทำงานจะได้สานต่อ
ไม่ต้องมาเริ่มใหม่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 45.22% 38.23% 40.50%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผลงานที่ผ่านมามากกว่า,ดูที่ตัวผู้สมัครมากกว่า,
อยากลองให้โอกาสผู้สมัครคนใหม่ ฯลฯ
4. การที่คุณอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าฯ กทม. มีผลต่อการที่จะทำให้ “คนกรุงเทพฯ” เลือก ส.ส. ของพรรคประชาธิปัตย์หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีผล 81.53% 69.11% 73.14%
เพราะ ดูที่ตัวผู้สมัครมากกว่า,ดูที่ผลงานที่ผ่านมาของผู้สมัคร,ดูที่หัวหน้าพรรค ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีผล 18.47% 30.89% 26.86%
เพราะ โดยส่วนตัวชอบพรรคประชาธิปัตย์อยู่แล้ว ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
1. ปัจจัยที่มีผลต่อการจะเลือก ส.ส. ในปีหน้าของ “คนกรุงเทพฯ”
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ตัวผู้สมัคร 18.48% 18.82% 18.72%
อันดับที่ 2 ผลงานที่ผ่านมา 18.64% 18.08% 18.25%
อันดับที่ 3 นโยบาย 18.48% 17.74% 17.97%
อันดับที่ 4 พรรคที่สังกัด 16.52% 16.66% 16.61%
อันดับที่ 5 หัวหน้าพรรค 15.61% 15.84% 15.77%
อันดับที่ 6 การหาเสียง 11.52% 12.59% 12.26%
* อื่นๆ เช่น ความรู้ความสามารถของผู้สมัคร,การศึกษา ฯลฯ
0.61% 0.14% 0.28%
* ไม่ระบุ 0.15% 0.14% 0.14%
2. การที่ผู้สมัครเคยเป็น ส.ส. มาแล้ว มีผลต่อการตัดสินใจของ “คนกรุงเทพฯ” ที่จะเลือกคนนั้นเป็น ส.ส. อีกหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผล 59.24% 70.03% 66.53%
เพราะ การทำงานจะได้สานต่อ,เคยมีประสบการณ์ในการทำงานมาแล้ว,
ชอบ ส.ส. คนเดิมที่เป็นอยู่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 40.76% 29.97% 33.47%
เพราะ ดูที่ตัวบุคคล,ดูที่ผลงาน,ดูที่นโยบายของแต่ละผู้สมัคร,
อยากได้คนใหม่ๆมาบริหารบ้านเมืองบ้าง ฯลฯ
3. การเป็น ส.ส. ของพรรครัฐบาลมีผลต่อ “คนกรุงเทพฯ” ในการเลือกเลือก ส.ส. ในปีหน้าหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผล 54.78% 61.77% 59.50%
เพราะ มีผลงานให้เห็นเป็นรูปธรรมมากกว่าผู้สมัครใหม่,การทำงานจะได้สานต่อ
ไม่ต้องมาเริ่มใหม่ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 45.22% 38.23% 40.50%
เพราะ ขึ้นอยู่กับผลงานที่ผ่านมามากกว่า,ดูที่ตัวผู้สมัครมากกว่า,
อยากลองให้โอกาสผู้สมัครคนใหม่ ฯลฯ
4. การที่คุณอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าฯ กทม. มีผลต่อการที่จะทำให้ “คนกรุงเทพฯ” เลือก ส.ส. ของพรรคประชาธิปัตย์หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่มีผล 81.53% 69.11% 73.14%
เพราะ ดูที่ตัวผู้สมัครมากกว่า,ดูที่ผลงานที่ผ่านมาของผู้สมัคร,ดูที่หัวหน้าพรรค ฯลฯ
อันดับที่ 2 มีผล 18.47% 30.89% 26.86%
เพราะ โดยส่วนตัวชอบพรรคประชาธิปัตย์อยู่แล้ว ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-