“สงกรานต์” เทศกาลสำคัญ ที่ผูกพันกับวิถีชีวิตคนไทยมาโดยตลอด โดยเฉพาะคนต่างจังหวัด “สงกรานต์”
จะมีบทบาทต่อชีวิตอย่างมากแม้ว่าจะมาทำงานอยู่ในกรุงเทพฯ แต่เมื่อถึงช่วงเวลาสงกรานต์ ก็เดินทางกลับบ้านจะทำ
ให้กิจการต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เงียบเหงาหรือกระทบกิจการนั้น ๆ พอสมควรรวมทั้งการเดินทางไปต่างจังหวัด และ
อุบัติเหตุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นย่อมกระทบสภาพสังคมไทยในภาวะปัจจุบัน
“สวนดุสิตโพล” จึงสำรวจความคิดเห็นของคน “กรุงเทพฯ” และ “ต่างจังหวัด” ในเรื่องของเทศกาล
“สงกรานต์” เพื่อสะท้อนข้อมูลซึ่งเป็นภาพหนึ่งของสังคม ที่หน่วยงานเกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยสำ
รวจระหว่างวันที่ 1- 12 เมษายน 2542 ทั้งคนกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด จำนวน 2,317 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
คือ
1 วัยรุ่น กทม. 532 คน 22.96% 2 วัยรุ่น ตจว. 618 คน 26.67%
3 ผู้สูงอายุ กทม. 496 คน 21.41% 4 ผู้สูงอายุ ตจว. 671 คน 28.96%
1. ความสำคัญของ “วันสงกรานต์”
ความสำคัญ วัยรุ่น กทม. วัยรุ่น ตจว. ผู้สูงอายุ กทม. ผู้สูงอายุ ตจว. เฉลี่ย
? สำคัญมาก 16.65 71.47 19.3 64.7 43.03
? พอสำคัญอยู่บ้าง 62.54 25.68 68.76 33.74 47.68
? ไม่ค่อยสำคัญ 20.81 2.85 11.94 1.56 9.29
“คนต่างจังหวัด” ทั้งผู้สูงอายุ และวัยรุ่น โดยผู้สูงอายุเห็นว่า วันสงกรานต์สำคัญมาก เพราะจะทำให้
พบลูกหลาน ส่วนวัยรุ่นคิดว่าปีหนึ่งมีครั้งเดียวยังเน้นเรื่องความสนุกสนานเป็นสำคัญ
“คนกรุงเทพฯ” ผู้สูงอายุเห็นว่าพอสำคัญอยู่บ้าง และคิดว่าก็เหมือน ๆ กันทุกปี ปีนี้ไม่ค่อยมีจิตใจจะเล่น
เพราะเศรษฐกิจย่ำแย่ การเมืองวุ่นวาย และวัยรุ่นกทม. เห็นว่าสำคัญอยู่บ้างแต่ไม่มาก เพราะไม่ค่อยมีสถานที่ที่จะ
ไปร่วมงาน / วัยรุ่นหญิงจะระบุว่ากลัวการเล่นที่เลยเถิด / อันตราย และมีกิจกรรมอื่นที่น่าสนใจมากกว่า เช่น ฟัง
เพลง ช็อปปิ้ง ฯลฯ
2. คนไทยจะทำอะไรใน “วันสงกรานต์”
วัยรุ่น กทม. อันดับที่ 1 เที่ยวช็อปปิ้งตามห้างสรรพสินค้า (ตากแอร์) 41.07%
อันดับที่ 2 ไปต่างจังหวัด / เที่ยวกับเพื่อน 26.25%
อันดับที่ 3 นอน / อยู่บ้านฟังเพลง ดูโทรทัศน์ 25.24%
* อื่น ๆ เช่นไปงานสงกรานต์ตามที่ต่าง ๆ ฯลฯ 7.44%
วัยรุ่น ตจว. อันดับที่ 1 เที่ยวงานสงกรานต์ ตามวัด / หมู่บ้าน 61.78%
อันดับที่ 2 กินเลี้ยง 26.77%
อันดับที่ 3 นัดเพื่อน / แฟนเที่ยว 11.45%
ผู้สูงอายุ กทม. อันดับที่ 1 พักผ่อน / อยู่กับบ้าน 56.54%
อันดับที่ 2 ทำบุญ / ตักบาตร 35.29%
อันดับที่ 3 ลูกหลานจะพาไปเที่ยว / ไปรับประทานอาหารนอกบ้าน 8.17%
ผู้สูงอายุ ตจว. อันดับที่ 1 ทำบุญที่วัด 65.79%
อันดับที่ 2 ได้พบกับลูกหลานที่กลับจากทำงาน 25.79%
อันดับที่ 3 กินเลี้ยง / เที่ยวงานวัด 8.42%
3. คนไทยคิดอย่างไรกับ “วันสงกรานต์”
อันดับที่ 1 เป็นประเพณีอันดีงามที่ควรส่งเสริม / ประยุกต์ให้เข้ากับวิถีชีวิตปัจจุบัน 48.10%
อันดับที่ 2 ควรจะเน้นเรื่องความประหยัด / ให้เหมาะสมกับยุค IMF 24.61%
อันดับที่ 3 ควรควบคุมราคาอาหารการกิน / ไม่ให้พ่อค้าขูดรีด 12.23%
อันดับที่ 4 หน่วยงานที่รับผิดชอบควรสอดส่องดูแลเรื่องความปลอดภัย 8.24%
* อื่น ๆ เช่น ปลูกฝังเรื่องความกตัญญู ฯลฯ 6.82%
4. ความคาดหวังของคนไทยจากเทศกาลสงกรานต์
อันดับที่ 1 ได้พบปะญาติพี่น้อง /เพื่อนฝูง / มีความสุข, สบายใจขึ้น 41.58%
อันดับที่ 2 ทำให้ลืมความทุกข์ยากเรื่องเศรษฐกิจได้ชั่วครู่ 21.35%
อันดับที่ 3 เบื่อการเมืองทะเลาะกันหันมาหาเรื่องสนุกสนานแบบชาวบ้านสบายใจกว่า 17.69%
อันดับที่ 4 ได้ทำบุญ / ทำทานอาจจะช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น 14.81%
* อื่น ๆ เช่น สร้างความหวังว่าชีวิตนี้ยังมีค่า ฯลฯ 4.57%
--สวนดุสิตโพล--
จะมีบทบาทต่อชีวิตอย่างมากแม้ว่าจะมาทำงานอยู่ในกรุงเทพฯ แต่เมื่อถึงช่วงเวลาสงกรานต์ ก็เดินทางกลับบ้านจะทำ
ให้กิจการต่าง ๆ ในกรุงเทพฯ เงียบเหงาหรือกระทบกิจการนั้น ๆ พอสมควรรวมทั้งการเดินทางไปต่างจังหวัด และ
อุบัติเหตุต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นย่อมกระทบสภาพสังคมไทยในภาวะปัจจุบัน
“สวนดุสิตโพล” จึงสำรวจความคิดเห็นของคน “กรุงเทพฯ” และ “ต่างจังหวัด” ในเรื่องของเทศกาล
“สงกรานต์” เพื่อสะท้อนข้อมูลซึ่งเป็นภาพหนึ่งของสังคม ที่หน่วยงานเกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยสำ
รวจระหว่างวันที่ 1- 12 เมษายน 2542 ทั้งคนกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด จำนวน 2,317 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
คือ
1 วัยรุ่น กทม. 532 คน 22.96% 2 วัยรุ่น ตจว. 618 คน 26.67%
3 ผู้สูงอายุ กทม. 496 คน 21.41% 4 ผู้สูงอายุ ตจว. 671 คน 28.96%
1. ความสำคัญของ “วันสงกรานต์”
ความสำคัญ วัยรุ่น กทม. วัยรุ่น ตจว. ผู้สูงอายุ กทม. ผู้สูงอายุ ตจว. เฉลี่ย
? สำคัญมาก 16.65 71.47 19.3 64.7 43.03
? พอสำคัญอยู่บ้าง 62.54 25.68 68.76 33.74 47.68
? ไม่ค่อยสำคัญ 20.81 2.85 11.94 1.56 9.29
“คนต่างจังหวัด” ทั้งผู้สูงอายุ และวัยรุ่น โดยผู้สูงอายุเห็นว่า วันสงกรานต์สำคัญมาก เพราะจะทำให้
พบลูกหลาน ส่วนวัยรุ่นคิดว่าปีหนึ่งมีครั้งเดียวยังเน้นเรื่องความสนุกสนานเป็นสำคัญ
“คนกรุงเทพฯ” ผู้สูงอายุเห็นว่าพอสำคัญอยู่บ้าง และคิดว่าก็เหมือน ๆ กันทุกปี ปีนี้ไม่ค่อยมีจิตใจจะเล่น
เพราะเศรษฐกิจย่ำแย่ การเมืองวุ่นวาย และวัยรุ่นกทม. เห็นว่าสำคัญอยู่บ้างแต่ไม่มาก เพราะไม่ค่อยมีสถานที่ที่จะ
ไปร่วมงาน / วัยรุ่นหญิงจะระบุว่ากลัวการเล่นที่เลยเถิด / อันตราย และมีกิจกรรมอื่นที่น่าสนใจมากกว่า เช่น ฟัง
เพลง ช็อปปิ้ง ฯลฯ
2. คนไทยจะทำอะไรใน “วันสงกรานต์”
วัยรุ่น กทม. อันดับที่ 1 เที่ยวช็อปปิ้งตามห้างสรรพสินค้า (ตากแอร์) 41.07%
อันดับที่ 2 ไปต่างจังหวัด / เที่ยวกับเพื่อน 26.25%
อันดับที่ 3 นอน / อยู่บ้านฟังเพลง ดูโทรทัศน์ 25.24%
* อื่น ๆ เช่นไปงานสงกรานต์ตามที่ต่าง ๆ ฯลฯ 7.44%
วัยรุ่น ตจว. อันดับที่ 1 เที่ยวงานสงกรานต์ ตามวัด / หมู่บ้าน 61.78%
อันดับที่ 2 กินเลี้ยง 26.77%
อันดับที่ 3 นัดเพื่อน / แฟนเที่ยว 11.45%
ผู้สูงอายุ กทม. อันดับที่ 1 พักผ่อน / อยู่กับบ้าน 56.54%
อันดับที่ 2 ทำบุญ / ตักบาตร 35.29%
อันดับที่ 3 ลูกหลานจะพาไปเที่ยว / ไปรับประทานอาหารนอกบ้าน 8.17%
ผู้สูงอายุ ตจว. อันดับที่ 1 ทำบุญที่วัด 65.79%
อันดับที่ 2 ได้พบกับลูกหลานที่กลับจากทำงาน 25.79%
อันดับที่ 3 กินเลี้ยง / เที่ยวงานวัด 8.42%
3. คนไทยคิดอย่างไรกับ “วันสงกรานต์”
อันดับที่ 1 เป็นประเพณีอันดีงามที่ควรส่งเสริม / ประยุกต์ให้เข้ากับวิถีชีวิตปัจจุบัน 48.10%
อันดับที่ 2 ควรจะเน้นเรื่องความประหยัด / ให้เหมาะสมกับยุค IMF 24.61%
อันดับที่ 3 ควรควบคุมราคาอาหารการกิน / ไม่ให้พ่อค้าขูดรีด 12.23%
อันดับที่ 4 หน่วยงานที่รับผิดชอบควรสอดส่องดูแลเรื่องความปลอดภัย 8.24%
* อื่น ๆ เช่น ปลูกฝังเรื่องความกตัญญู ฯลฯ 6.82%
4. ความคาดหวังของคนไทยจากเทศกาลสงกรานต์
อันดับที่ 1 ได้พบปะญาติพี่น้อง /เพื่อนฝูง / มีความสุข, สบายใจขึ้น 41.58%
อันดับที่ 2 ทำให้ลืมความทุกข์ยากเรื่องเศรษฐกิจได้ชั่วครู่ 21.35%
อันดับที่ 3 เบื่อการเมืองทะเลาะกันหันมาหาเรื่องสนุกสนานแบบชาวบ้านสบายใจกว่า 17.69%
อันดับที่ 4 ได้ทำบุญ / ทำทานอาจจะช่วยให้ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น 14.81%
* อื่น ๆ เช่น สร้างความหวังว่าชีวิตนี้ยังมีค่า ฯลฯ 4.57%
--สวนดุสิตโพล--