หลังจากที่ราคาน้ำมันได้มีการปรับราคาสูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมา ได้ส่งผลกระทบต่อประชาชนในด้านความ
เป็นอยู่ ด้านเศรษฐกิจก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิด
เห็นของประชาชนที่พักอาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,806 คน (หัวหน้าครอบครัว 539 คน
29.84% แม่บ้าน 574 คน 31.78% สมาชิกในครอบครัว 693 คน 38.38%) โดยสำรวจระหว่างวันที่
18 - 22 เมษายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการใช้รถยนต์ส่วนตัวของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 70.13% 61.04% 51.02% 60.73%
คือ ค่าน้ำมันเพิ่มขึ้น,เวลาจะไปไหนต้องคิดก่อนว่าถ้าเอารถไปจะคุ้มหรือไม่,เปลี่ยนมานั่งรถประจำทางแทน,ไม่จำเป็นจะไม่ออกไปไหน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 29.87% 38.96% 48.98% 39.27%
เพราะ ต้องใช้ในการเดินทางอยู่แล้ว,เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้ถึงแม้ไม่ได้ใช้รถส่วนตัวก็ต้องใช้รถรับจ้าง ฯลฯ
2. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการบริโภค (ด้านอาหารการกิน)ของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 71.43% 75.32% 72.73% 73.16%
คือ สินค้าขึ้นราคาต้องจ่ายแพงขึ้นแต่รายรับยังเท่าเดิม,ลดการออกไปทานอาหารนอกบ้านลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 28.57% 24.68% 27.27% 26.84%
เพราะ ยังรับประทานเหมือนๆเดิม,เป็นสิ่งที่ต้องกินต้องใข้ในชีวิตประจำวันอยู่แล้ว,ไม่ได้แพงมากจนเกินไป ฯลฯ
3. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว/พักผ่อนในช่วงวันหยุดของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 64.47% 68.83% 61.62% 64.97%
คือ ทำให้ท่องเที่ยวน้อยลงไม่จำเป็นก็จะไม่ไป,ถ้าไปต่างจังหวัดไกลๆโดยใช้รถก็จะปิดแอร์เพื่อประหยัดน้ำมัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 35.53% 31.17% 38.38% 35.03%
เพราะ ไม่ค่อยได้เที่ยวที่ไหนอยู่แล้ว,พักผ่อนใกล้บ้านสะดวกที่สุด ฯลฯ
4. น้ำมันแพง มีผลต่อการสร้างวินัยในการประหยัด/อดออมของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 67.53% 78.95% 74.23% 73.57%
คือ ทำให้ต้องประหยัดมากขึ้นและพยายามประหยัดในทุกๆทาง,ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยพยายามอยู่กับบ้านให้มากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 32.47% 21.05% 25.77% 26.43%
เพราะ ประหยัดเป็นปกติอยู่แล้ว,ทุกอย่างที่ใช้มันเป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ้น,ยังไม่ได้รับผลกระทบมากนัก ฯลฯ
5. ใช้ชีวิตให้ “มีความสุข” ในช่วงน้ำมันแพง ในทัศนะประชาชน
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 ต้องใช้จ่ายอย่างประหยัดให้อยู่ในงบประมาณไม่ฟุ่มเฟือย 38.81% 48.61% 49.39% 45.60%
อันดับที่ 2 รอดูสถานการณ์น้ำมันต่อไปและทำใจยอมรับสถานการณ์ 26.86% 11.11% 13.25% 17.07%
อันดับที่ 3 ถ้าไม่จำเป็นจะไม่ออกไปไหนไกลๆ พยายามอยู่บ้านดีที่สุด 19.40% 18.06% 10.84% 16.10%
อันดับที่ 4 ใช้บริการรถประจำทาง รถไฟฟ้า BTS และรถไฟใต้ดินมากขึ้น 7.47% 12.50% 20.49% 13.49%
อันดับที่ 5 นำนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน 7.46% 9.72% 6.03% 7.74%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
เป็นอยู่ ด้านเศรษฐกิจก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิด
เห็นของประชาชนที่พักอาศัยในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,806 คน (หัวหน้าครอบครัว 539 คน
29.84% แม่บ้าน 574 คน 31.78% สมาชิกในครอบครัว 693 คน 38.38%) โดยสำรวจระหว่างวันที่
18 - 22 เมษายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการใช้รถยนต์ส่วนตัวของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 70.13% 61.04% 51.02% 60.73%
คือ ค่าน้ำมันเพิ่มขึ้น,เวลาจะไปไหนต้องคิดก่อนว่าถ้าเอารถไปจะคุ้มหรือไม่,เปลี่ยนมานั่งรถประจำทางแทน,ไม่จำเป็นจะไม่ออกไปไหน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 29.87% 38.96% 48.98% 39.27%
เพราะ ต้องใช้ในการเดินทางอยู่แล้ว,เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องใช้ถึงแม้ไม่ได้ใช้รถส่วนตัวก็ต้องใช้รถรับจ้าง ฯลฯ
2. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการบริโภค (ด้านอาหารการกิน)ของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 71.43% 75.32% 72.73% 73.16%
คือ สินค้าขึ้นราคาต้องจ่ายแพงขึ้นแต่รายรับยังเท่าเดิม,ลดการออกไปทานอาหารนอกบ้านลง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 28.57% 24.68% 27.27% 26.84%
เพราะ ยังรับประทานเหมือนๆเดิม,เป็นสิ่งที่ต้องกินต้องใข้ในชีวิตประจำวันอยู่แล้ว,ไม่ได้แพงมากจนเกินไป ฯลฯ
3. น้ำมันแพง มีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว/พักผ่อนในช่วงวันหยุดของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 64.47% 68.83% 61.62% 64.97%
คือ ทำให้ท่องเที่ยวน้อยลงไม่จำเป็นก็จะไม่ไป,ถ้าไปต่างจังหวัดไกลๆโดยใช้รถก็จะปิดแอร์เพื่อประหยัดน้ำมัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 35.53% 31.17% 38.38% 35.03%
เพราะ ไม่ค่อยได้เที่ยวที่ไหนอยู่แล้ว,พักผ่อนใกล้บ้านสะดวกที่สุด ฯลฯ
4. น้ำมันแพง มีผลต่อการสร้างวินัยในการประหยัด/อดออมของ “ประชาชน” หรือไม่?
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 67.53% 78.95% 74.23% 73.57%
คือ ทำให้ต้องประหยัดมากขึ้นและพยายามประหยัดในทุกๆทาง,ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยพยายามอยู่กับบ้านให้มากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 32.47% 21.05% 25.77% 26.43%
เพราะ ประหยัดเป็นปกติอยู่แล้ว,ทุกอย่างที่ใช้มันเป็นสิ่งจำเป็นทั้งสิ้น,ยังไม่ได้รับผลกระทบมากนัก ฯลฯ
5. ใช้ชีวิตให้ “มีความสุข” ในช่วงน้ำมันแพง ในทัศนะประชาชน
หัวหน้าครอบครัว แม่บ้าน สมาชิกในครอบครัว ภาพรวม
อันดับที่ 1 ต้องใช้จ่ายอย่างประหยัดให้อยู่ในงบประมาณไม่ฟุ่มเฟือย 38.81% 48.61% 49.39% 45.60%
อันดับที่ 2 รอดูสถานการณ์น้ำมันต่อไปและทำใจยอมรับสถานการณ์ 26.86% 11.11% 13.25% 17.07%
อันดับที่ 3 ถ้าไม่จำเป็นจะไม่ออกไปไหนไกลๆ พยายามอยู่บ้านดีที่สุด 19.40% 18.06% 10.84% 16.10%
อันดับที่ 4 ใช้บริการรถประจำทาง รถไฟฟ้า BTS และรถไฟใต้ดินมากขึ้น 7.47% 12.50% 20.49% 13.49%
อันดับที่ 5 นำนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน 7.46% 9.72% 6.03% 7.74%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-