“ข่าว” อะไร ?
ที่ประชาชน “ชอบ” และ “เบื่อ”
“ข่าว” ที่นำเสนอโดยสื่อต่าง ๆ ทั้งหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในยุค IMF ที่มีปัญหาทั้งสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ล้วนมีบทบาทอย่างยิ่งต่อสังคมของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใกล้ ปี ค.ศ. 2000 ปีที่ก้าวเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร (Information Age) อย่างเต็มตัว “การสะท้อนความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล” ซึ่งเป็นศูนย์กลางแห่งการรับรู้ข่าวสาร จึงเป็นภาพที่สำคัญอีกภาพหนึ่งในการจะได้ข้อมูลเพื่อประกอบการพัฒนาสังคมไทยให้ก้าวไปสู่สังคมข่าวสารได้ดียิ่งขึ้น “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนต่อการนำเสนอ “ข่าว” ของสื่อในสถานการณ์ปัจจุบัน จำนวน 2,704 คน (ชาย 1,069 คน 39.53% หญิง 1,635 คน 60.47%) ระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม | 3 มิถุนายน 2542 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนติดตาม “ข่าว” จากสื่อใดมากที่สุด
อันดับที่ 1 โทรทัศน์ 68.98%
อันดับที่ 2 หนังสือพิมพ์ 22.04%
อันดับที่ 3 วิทยุ 6.53%
* อื่น ๆ เช่น ญาติ/เพื่อน, อินเตอร์เน็ท, วารสาร ฯลฯ 2.45%
2. “ประเภทข่าว” ที่ประชาชน “ชอบ / สนใจ”
ชาย หญิง
อันดับที่ 1 กีฬา 61.43 % อันดับที่ 1 บันเทิง 52.55%
อันดับที่ 2 เศรษฐกิจ 18.57 % อันดับที่ 2 เศรษฐกิจ 24.82%
อันดับที่ 3 ต่างประเทศ 10.00 % อันดับที่ 3 การศึกษา/เทคโนโลยี 10.95%
อันดับที่ 4 การศึกษา / เทคโนโลยี 5.71 % อันดับที่ 4 กีฬา 6.57%
อันดับที่ 5 บันเทิง 4.29 % อันดับที่ 5 ต่างประเทศ 5.11%
3. “ประเภทข่าว” ที่ประชาชน “เบื่อ”
ชาย หญิง
อันดับที่ 1 การเมือง 52.63 % อันดับที่ 1 การเมือง 62.59%
เพราะ นักการเมืองชอบทะเลาะกัน, มีแต่เรื่องเดิม, ซ้ำซาก / ไม่พัฒนา, เบื่อนักการเมือง ฯลฯ
อันดับที่ 2 อาชญากรรม 39.47 % อันดับที่ 2 ศาสนา(โดยเฉพาะกรณีธรรมกาย) 28.57%
เพราะ มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน, ซ้ำซาก ฯลฯ เพราะ ยืดเยื้อ / ล่าช้า, ตัดสินไม่ได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ศาสนา(โดยเฉพาะกรณีธรรมกาย) 7.90% อันดับที่ 3 อาชญากรรม 8.84%
เพราะ ยืดเยื้อ / ล่าช้า, ตัดสินไม่ได้ ฯลฯ เพราะ มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน, ซ้ำซาก ฯลฯ
4. ประชาชนอยากให้สื่อต่าง ๆ นำเสนอ “ข่าว” อย่างไร ?
? หนังสือพิมพ์
อันดับที่ 1 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 57.55%
อันดับที่ 2 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 24.08%
อันดับที่ 3 เนื้อหาข่าวมีสาระ / กระชับ 11.43%
อันดับที่ 4 ไม่พาดหัวเกินจริง 4.08%
* อื่น ๆ เช่น มีการวิเคราะห์ข่าว ฯลฯ 2.86 %
? โทรทัศน์
อันดับที่ 1 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 46.48%
อันดับที่ 2 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 40.38%
อันดับที่ 3 มีการวิเคราะห์ข่าว 6.57%
อันดับที่ 4 เนื้อหาข่าวมีสาระ / กระชับ 2.82%
อันดับที่ 5 ภาพน่าสนใจ 2.35%
* อื่น ๆ เช่น เน้นผู้อ่านข่าว ฯลฯ 1.40 %
? วิทยุ
อันดับที่ 1 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 48.10%
อันดับที่ 2 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 33.54%
อันดับที่ 3 เข้าใจง่าย / กระชับ 10.76%
อันดับที่ 4 มีการวิเคราะห์ข่าว 4.43%
* อื่น ๆ เช่น เสนอข่าวให้หลากหลาย ฯลฯ 3.17 %
--สวนดุสิตโพล--
ที่ประชาชน “ชอบ” และ “เบื่อ”
“ข่าว” ที่นำเสนอโดยสื่อต่าง ๆ ทั้งหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ในยุค IMF ที่มีปัญหาทั้งสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ล้วนมีบทบาทอย่างยิ่งต่อสังคมของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใกล้ ปี ค.ศ. 2000 ปีที่ก้าวเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร (Information Age) อย่างเต็มตัว “การสะท้อนความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล” ซึ่งเป็นศูนย์กลางแห่งการรับรู้ข่าวสาร จึงเป็นภาพที่สำคัญอีกภาพหนึ่งในการจะได้ข้อมูลเพื่อประกอบการพัฒนาสังคมไทยให้ก้าวไปสู่สังคมข่าวสารได้ดียิ่งขึ้น “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนต่อการนำเสนอ “ข่าว” ของสื่อในสถานการณ์ปัจจุบัน จำนวน 2,704 คน (ชาย 1,069 คน 39.53% หญิง 1,635 คน 60.47%) ระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม | 3 มิถุนายน 2542 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนติดตาม “ข่าว” จากสื่อใดมากที่สุด
อันดับที่ 1 โทรทัศน์ 68.98%
อันดับที่ 2 หนังสือพิมพ์ 22.04%
อันดับที่ 3 วิทยุ 6.53%
* อื่น ๆ เช่น ญาติ/เพื่อน, อินเตอร์เน็ท, วารสาร ฯลฯ 2.45%
2. “ประเภทข่าว” ที่ประชาชน “ชอบ / สนใจ”
ชาย หญิง
อันดับที่ 1 กีฬา 61.43 % อันดับที่ 1 บันเทิง 52.55%
อันดับที่ 2 เศรษฐกิจ 18.57 % อันดับที่ 2 เศรษฐกิจ 24.82%
อันดับที่ 3 ต่างประเทศ 10.00 % อันดับที่ 3 การศึกษา/เทคโนโลยี 10.95%
อันดับที่ 4 การศึกษา / เทคโนโลยี 5.71 % อันดับที่ 4 กีฬา 6.57%
อันดับที่ 5 บันเทิง 4.29 % อันดับที่ 5 ต่างประเทศ 5.11%
3. “ประเภทข่าว” ที่ประชาชน “เบื่อ”
ชาย หญิง
อันดับที่ 1 การเมือง 52.63 % อันดับที่ 1 การเมือง 62.59%
เพราะ นักการเมืองชอบทะเลาะกัน, มีแต่เรื่องเดิม, ซ้ำซาก / ไม่พัฒนา, เบื่อนักการเมือง ฯลฯ
อันดับที่ 2 อาชญากรรม 39.47 % อันดับที่ 2 ศาสนา(โดยเฉพาะกรณีธรรมกาย) 28.57%
เพราะ มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน, ซ้ำซาก ฯลฯ เพราะ ยืดเยื้อ / ล่าช้า, ตัดสินไม่ได้ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ศาสนา(โดยเฉพาะกรณีธรรมกาย) 7.90% อันดับที่ 3 อาชญากรรม 8.84%
เพราะ ยืดเยื้อ / ล่าช้า, ตัดสินไม่ได้ ฯลฯ เพราะ มีเพิ่มมากขึ้นทุกวัน, ซ้ำซาก ฯลฯ
4. ประชาชนอยากให้สื่อต่าง ๆ นำเสนอ “ข่าว” อย่างไร ?
? หนังสือพิมพ์
อันดับที่ 1 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 57.55%
อันดับที่ 2 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 24.08%
อันดับที่ 3 เนื้อหาข่าวมีสาระ / กระชับ 11.43%
อันดับที่ 4 ไม่พาดหัวเกินจริง 4.08%
* อื่น ๆ เช่น มีการวิเคราะห์ข่าว ฯลฯ 2.86 %
? โทรทัศน์
อันดับที่ 1 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 46.48%
อันดับที่ 2 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 40.38%
อันดับที่ 3 มีการวิเคราะห์ข่าว 6.57%
อันดับที่ 4 เนื้อหาข่าวมีสาระ / กระชับ 2.82%
อันดับที่ 5 ภาพน่าสนใจ 2.35%
* อื่น ๆ เช่น เน้นผู้อ่านข่าว ฯลฯ 1.40 %
? วิทยุ
อันดับที่ 1 รวดเร็ว / ทันเหตุการณ์ 48.10%
อันดับที่ 2 เป็นกลาง / นำเสนอข้อเท็จจริงอย่างตรงไปตรงมา 33.54%
อันดับที่ 3 เข้าใจง่าย / กระชับ 10.76%
อันดับที่ 4 มีการวิเคราะห์ข่าว 4.43%
* อื่น ๆ เช่น เสนอข่าวให้หลากหลาย ฯลฯ 3.17 %
--สวนดุสิตโพล--