*นักเรียนม.ปลาย รู้เรื่องแอดมิชชั่น เพียงร้อยละ 6.09
*นักเรียนม.ปลายเห็นว่าเอ็นทรานซ์แบบเดิมดีกว่า แอดมิชชั่น ถึงร้อยละ 47.94
แอดมิชชั่น คือ การใช้ระบบกลางในการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งจะนำมาใช้ใหม่ ในปี
การศึกษา 2549 แทนระบบเอ็นทรานซ์เดิม โดยใช้เกณฑ์ค่าน้ำหนักของผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในห้องเรียน 50%
คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 50% “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความ
คิดเห็นของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 ทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,527 คน (ชาย 729 คน
47.74% หญิง 798 คน 52.26%) สำรวจระหว่างวันที่ 1 — 10 มีนาคม พ.ศ. 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “นักเรียน ม.ปลาย” รู้เรื่องการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา โดยวิธี แอดมิชชั่น หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอรู้บ้าง 42.39% 50.75% 46.76%
สิ่งที่รู้คือ ใช้เกรดในการยื่น,ไม่ต้องสอบเข้า สอบตรงมหาวิทยาลัยเลย,ไม่ใช่การ
Ent ระบบเก่า เป็นการสอบที่เรียกว่า NT ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยรู้ 25.93% 28.57% 27.31%
เพราะ ไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจน,ไม่ได้ติดตามไม่อยากรู้,ไม่ใช่ปีที่เราสอบ,
อาจไม่เรียนต่อ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่รู้เรื่องเลย 26.34% 13.91% 19.84%
เพราะ ไม่มีการประชาสัมพันธ์ทางสื่อ,ไม่ได้ติดตามข่าวสาร,ไม่มีการอธิบายอย่างชัดเจน ฯลฯ
อันดับที่ 4 รู้เป็นอย่างดี 5.35% 6.77% 6.09%
สิ่งที่รู้คือ การรับตรงเข้ามหาวิทยาลัยทำให้เด็กมีสิทธิมากขึ้น,เพิ่มค่าคะแนน GPA
เป็น 50%,คะแนนผลการทดลอง ฯลฯ
2. สิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมในเรื่อง “การคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา” โดยวิธี แอดมิชชั่น คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากรู้ในรายละเอียด/ขั้นตอนในการคัดเลือก 53.77% 51.53% 52.42%
อันดับที่ 2 วิธีการจัดระดับคะแนนของมหาวิทยาลัยต่างๆในการรับนักศึกษา 12.26% 10.43% 11.15%
อันดับที่ 3 ข้อดี — ข้อเสียของระบบแอดมิชชั่นเปรียบเทียบกับแบบเดิม 8.49% 9.20% 8.92%
อันดับที่ 4 แนวข้อสอบที่ออกจะเป็นแบบใหม่หรือแบบเก่าของแต่ละคณะ 3.77% 6.13% 5.20%
อันดับที่ 5 อยากทราบว่าเกณฑ์ 50% ของผลเฉลี่ยสะสมที่ทางโรงเรียนวัด
ได้มาจากส่วนไหนบ้าง 5.66% 4.29% 4.83%
3. การใช้วิธีแอดมิชชั่น มีผลดี — ผลเสีย อย่างไร?
- ผลดี
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้นักเรียนตั้งใจเรียนที่โรงเรียนมากขึ้น 28.41% 23.58% 25.59%
อันดับที่ 2 ถ้าคะแนนสอบได้น้อยก็สามารถเอาคะแนนเฉลี่ยมาช่วยได้ 18.18% 27.64% 23.70%
อันดับที่ 3 นักเรียนที่มีผลการเรียนดีจะสามารถเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ 21.59% 19.51% 20.38%
อันดับที่ 4 ทำให้เด็กเครียดน้อยลง 15.91% 13.01% 14.22%
อันดับที่ 5 ทำให้นักเรียนมีทางเลือกมากขึ้น 5.68% 11.38% 9.00%
ฯลฯ
- ผลเสีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ระดับเกรดผลการเรียนของแต่ละโรงเรียนไม่เท่ากัน 47.06% 55.15% 51.68%
อันดับที่ 2 ไม่สามารถกลับมาสอบเอ็นทรานซ์ใหม่ได้ 15.69% 8.82% 11.76%
อันดับที่ 3 ถ้าคนที่ GPA ไม่ดีก็จะแย่ 5.88% 6.62% 6.30%
อันดับที่ 4 จะวัดความสามารถของเด็กไม่ได้ 3.92% 3.68% 3.78%
อันดับที่ 4 นักเรียนไม่มีความพร้อม 4.90% 2.94% 3.78%
ฯลฯ
4. เมื่อเปรียบเทียบ การใช้วิธีแอดมิชชั่น กับ ระบบเอ็นทรานซ์เดิม วิธีใดจะมีผลดีมากกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เอ็นทรานซ์แบบเดิมดีกว่า 43.21% 52.26% 47.94%
เพราะ เป็นการวัดกันที่ความรู้ ความสามารถจากเด็กทั่วประเทศจริงๆ,เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
สำหรับคนที่เกรดสะสมไม่ดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 แอดมิชชั่นดีกว่า 23.87% 24.06% 23.97%
เพราะ จะทำให้เด็กตั้งใจเรียนตั้งแต่ต้น,เป็นระบบคัดเลือกที่ตรงกับความต้องการ,จะได้ไม่ต้องเหนื่อยมาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ดีพอๆกัน 20.99% 19.92% 20.43%
เพราะ ยังไงก็อยู่ที่ตัวเราเองมากกว่า,มีเกณฑ์การสอบเหมือนกัน,ทำให้เด็กมีโอกาสเข้าเรียนได้พอๆกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 11.93% 3.76% 7.66%
5. “นักเรียน” มีปัญหาหนักใจในการสอบเอ็นทรานซ์ปีนี้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 48.15% 57.14% 52.85%
คือ กลัวได้คะแนนน้อยและเรื่อง GPA ,เตรียมตัวไม่พร้อม,กลัวสอบไม่ติด,ยังไม่เข้าใจระบบ แอดมิชชั่น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 45.27% 38.72% 41.85%
เพราะ เตรียมตัวพร้อมอยู่แล้ว,สอบเอ็นทรานซ์ไม่ติดก็ไม่เป็นไร,มั่นใจในระบบเอ็นทรานซ์ ฯลฯ
* ไม่ระบุ 6.58% 4.14% 5.30%
6. สิ่งที่อยากบอกกับ “สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)” เกี่ยวกับการใช้ แอดมิชชั่น คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรเพิ่มในการประชาสัมพันธ์/ประกาศล่วงหน้า
เพื่อการเตรียมตัวของนักเรียน 23.66% 20.95% 21.99%
อันดับที่ 2 ควรมีเกณฑ์คิดคะแนนของแต่ละโรงเรียน
ให้มีมาตรฐานเดียวกัน 19.35% 15.54% 17.01%
อันดับที่ 3 ใช้ระบบเอ็นทรานซ์แบบเก่าดีอยู่แล้ว 8.60% 13.51% 11.62%
อันดับที่ 4 รายละเอียดต่างๆควรมีความแน่นอนและ
เร่งสร้างความเข้าใจให้กับเด็ก 8.60% 8.11% 8.30%
อันดับที่ 5 ทำหน้าที่ด้วยความยุติธรรม 5.38% 6.76% 6.22%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
*นักเรียนม.ปลายเห็นว่าเอ็นทรานซ์แบบเดิมดีกว่า แอดมิชชั่น ถึงร้อยละ 47.94
แอดมิชชั่น คือ การใช้ระบบกลางในการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งจะนำมาใช้ใหม่ ในปี
การศึกษา 2549 แทนระบบเอ็นทรานซ์เดิม โดยใช้เกณฑ์ค่าน้ำหนักของผลการเรียนเฉลี่ยสะสมในห้องเรียน 50%
คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ 50% “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความ
คิดเห็นของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6 ทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 1,527 คน (ชาย 729 คน
47.74% หญิง 798 คน 52.26%) สำรวจระหว่างวันที่ 1 — 10 มีนาคม พ.ศ. 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “นักเรียน ม.ปลาย” รู้เรื่องการคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา โดยวิธี แอดมิชชั่น หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอรู้บ้าง 42.39% 50.75% 46.76%
สิ่งที่รู้คือ ใช้เกรดในการยื่น,ไม่ต้องสอบเข้า สอบตรงมหาวิทยาลัยเลย,ไม่ใช่การ
Ent ระบบเก่า เป็นการสอบที่เรียกว่า NT ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยรู้ 25.93% 28.57% 27.31%
เพราะ ไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างชัดเจน,ไม่ได้ติดตามไม่อยากรู้,ไม่ใช่ปีที่เราสอบ,
อาจไม่เรียนต่อ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่รู้เรื่องเลย 26.34% 13.91% 19.84%
เพราะ ไม่มีการประชาสัมพันธ์ทางสื่อ,ไม่ได้ติดตามข่าวสาร,ไม่มีการอธิบายอย่างชัดเจน ฯลฯ
อันดับที่ 4 รู้เป็นอย่างดี 5.35% 6.77% 6.09%
สิ่งที่รู้คือ การรับตรงเข้ามหาวิทยาลัยทำให้เด็กมีสิทธิมากขึ้น,เพิ่มค่าคะแนน GPA
เป็น 50%,คะแนนผลการทดลอง ฯลฯ
2. สิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมในเรื่อง “การคัดเลือกบุคคลเข้าสู่สถาบันอุดมศึกษา” โดยวิธี แอดมิชชั่น คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 อยากรู้ในรายละเอียด/ขั้นตอนในการคัดเลือก 53.77% 51.53% 52.42%
อันดับที่ 2 วิธีการจัดระดับคะแนนของมหาวิทยาลัยต่างๆในการรับนักศึกษา 12.26% 10.43% 11.15%
อันดับที่ 3 ข้อดี — ข้อเสียของระบบแอดมิชชั่นเปรียบเทียบกับแบบเดิม 8.49% 9.20% 8.92%
อันดับที่ 4 แนวข้อสอบที่ออกจะเป็นแบบใหม่หรือแบบเก่าของแต่ละคณะ 3.77% 6.13% 5.20%
อันดับที่ 5 อยากทราบว่าเกณฑ์ 50% ของผลเฉลี่ยสะสมที่ทางโรงเรียนวัด
ได้มาจากส่วนไหนบ้าง 5.66% 4.29% 4.83%
3. การใช้วิธีแอดมิชชั่น มีผลดี — ผลเสีย อย่างไร?
- ผลดี
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทำให้นักเรียนตั้งใจเรียนที่โรงเรียนมากขึ้น 28.41% 23.58% 25.59%
อันดับที่ 2 ถ้าคะแนนสอบได้น้อยก็สามารถเอาคะแนนเฉลี่ยมาช่วยได้ 18.18% 27.64% 23.70%
อันดับที่ 3 นักเรียนที่มีผลการเรียนดีจะสามารถเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ 21.59% 19.51% 20.38%
อันดับที่ 4 ทำให้เด็กเครียดน้อยลง 15.91% 13.01% 14.22%
อันดับที่ 5 ทำให้นักเรียนมีทางเลือกมากขึ้น 5.68% 11.38% 9.00%
ฯลฯ
- ผลเสีย
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ระดับเกรดผลการเรียนของแต่ละโรงเรียนไม่เท่ากัน 47.06% 55.15% 51.68%
อันดับที่ 2 ไม่สามารถกลับมาสอบเอ็นทรานซ์ใหม่ได้ 15.69% 8.82% 11.76%
อันดับที่ 3 ถ้าคนที่ GPA ไม่ดีก็จะแย่ 5.88% 6.62% 6.30%
อันดับที่ 4 จะวัดความสามารถของเด็กไม่ได้ 3.92% 3.68% 3.78%
อันดับที่ 4 นักเรียนไม่มีความพร้อม 4.90% 2.94% 3.78%
ฯลฯ
4. เมื่อเปรียบเทียบ การใช้วิธีแอดมิชชั่น กับ ระบบเอ็นทรานซ์เดิม วิธีใดจะมีผลดีมากกว่ากัน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เอ็นทรานซ์แบบเดิมดีกว่า 43.21% 52.26% 47.94%
เพราะ เป็นการวัดกันที่ความรู้ ความสามารถจากเด็กทั่วประเทศจริงๆ,เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง
สำหรับคนที่เกรดสะสมไม่ดี ฯลฯ
อันดับที่ 2 แอดมิชชั่นดีกว่า 23.87% 24.06% 23.97%
เพราะ จะทำให้เด็กตั้งใจเรียนตั้งแต่ต้น,เป็นระบบคัดเลือกที่ตรงกับความต้องการ,จะได้ไม่ต้องเหนื่อยมาก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ดีพอๆกัน 20.99% 19.92% 20.43%
เพราะ ยังไงก็อยู่ที่ตัวเราเองมากกว่า,มีเกณฑ์การสอบเหมือนกัน,ทำให้เด็กมีโอกาสเข้าเรียนได้พอๆกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 11.93% 3.76% 7.66%
5. “นักเรียน” มีปัญหาหนักใจในการสอบเอ็นทรานซ์ปีนี้หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มี 48.15% 57.14% 52.85%
คือ กลัวได้คะแนนน้อยและเรื่อง GPA ,เตรียมตัวไม่พร้อม,กลัวสอบไม่ติด,ยังไม่เข้าใจระบบ แอดมิชชั่น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มี 45.27% 38.72% 41.85%
เพราะ เตรียมตัวพร้อมอยู่แล้ว,สอบเอ็นทรานซ์ไม่ติดก็ไม่เป็นไร,มั่นใจในระบบเอ็นทรานซ์ ฯลฯ
* ไม่ระบุ 6.58% 4.14% 5.30%
6. สิ่งที่อยากบอกกับ “สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)” เกี่ยวกับการใช้ แอดมิชชั่น คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรเพิ่มในการประชาสัมพันธ์/ประกาศล่วงหน้า
เพื่อการเตรียมตัวของนักเรียน 23.66% 20.95% 21.99%
อันดับที่ 2 ควรมีเกณฑ์คิดคะแนนของแต่ละโรงเรียน
ให้มีมาตรฐานเดียวกัน 19.35% 15.54% 17.01%
อันดับที่ 3 ใช้ระบบเอ็นทรานซ์แบบเก่าดีอยู่แล้ว 8.60% 13.51% 11.62%
อันดับที่ 4 รายละเอียดต่างๆควรมีความแน่นอนและ
เร่งสร้างความเข้าใจให้กับเด็ก 8.60% 8.11% 8.30%
อันดับที่ 5 ทำหน้าที่ด้วยความยุติธรรม 5.38% 6.76% 6.22%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-