แท็ก
สวนดุสิตโพล
“การวางระเบิด / ขู่วางระเบิดรายวัน” ดูจะเป็นสถานการณ์ที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง เพราะผลพวงที่เกิดขึ้นจากกรณีดังกล่าวได้สร้างความเสียหายมิใช่แต่เพียงทรัพย์สินเท่านั้น สุขภาพจิตที่หวาดผวาของประชาชน และเหตุการณ์ดังกล่าวได้ทำให้ภาพลักษณ์ของประเทศที่ปรากฎสู่สายตาโลกย่ำแย่ ยิ่งตอกย้ำสภาพเศรษฐกิจให้ทรุดต่ำลงไปอีก “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพฯและปริมณฑลทุกสาขาอาชีพ ระหว่างวันที่ 8 - 10 มกราคม 2542 จำนวน 1,686 คน พบประเด็นสำคัญ ๆ ดังนี้
สถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง 1,686 คน
เพศ ? ชาย 752 คน 44.60 % ? หญิง 934 คน 55.40 %
การติดตามข่าว “การวางระเบิด”
ติดตามตลอด231 คน 13.70 %
ติดตามบ้าง 1,431 คน 84.88 %
ไม่ค่อยได้ติดตาม 24 คน 1.42 %
1 ประชาชนที่ติดตามข่าว “การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด” คิดว่าเรื่องที่เกิดขึ้น “เป็นเรื่องการเมืองหรือไม่?”
ชาย หญิง เฉลี่ย
เป็นเรื่องการเมือง 43.32 % 35.79 % 39.56 %
เพราะ เป็นการสร้างสถานการณ์,สร้างความวุ่นวาย / เหตุการณ์เกิดใกล้วันอภิปรายไม่ไว้วางใจ,ทำลายภาพลักษณ์ของรัฐบาล / กดดันรัฐบาล ฯลฯ
ไม่เป็นเรื่องการเมือง 15.79 % 8.36 % 12.07 %
เพราะ เป็นเรื่องของการขัดผลประโยชน์, ยังไม่ปรากฎหลักฐานชัดเจน ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 40.89 % 55.85 % 48.37 %
2 ประชาชนที่ติดตามข่าว “การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด” คิดอย่างไร? กับ กรณีที่เกิดขึ้น
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่สมควรประณามผู้ก่อเหตุอย่างยิ่ง 36.55 48.89 42.72
อันดับที่ 2 ทำลายความเชื่อมั่นของรัฐบาล/ใกล้วันอภิปราย/เกมการเมือง 26.90 31.11 29.01
อันดับที่ 3 เสียหายทั้งชีวิต/ทรัพย์สิน/ชื่อเสียงของประเทศ 20.30 8.89 14.59
อันดับที่ 4 สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนโดยตรง 14.21 6.67 10.44
* อื่น ๆ เช่น สมเพช, เป็นการกระทำของคนขายชาติ ฯลฯ 2.04 4.44 3.24
3 แนวทางแก้ไขปัญหา
“การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด”
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เจ้าหน้าที่ต้องเร่งจับผู้ร้าย/เข้มงวดเด็ดขาดในการปฏิบัติหน้าที่ 38.78 29.19 33.99
อันดับที่ 2 ควบคุม/ตรวจจับ วัตถุระเบิด, อาวุธสงคราม 22.45 28.65 25.55
อันดับที่ 3 สร้างจิตสำนึกทั้งส่วนตัวและส่วนรวมถึงผลเสียที่เกิดขึ้น 20.41 25.41 22.91
* อื่น ๆ เช่น ฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านควรหันหน้ามาช่วยแก้ปัญหาบ้านเมือง
อย่ามัวแต่เล่นเกมการเมือง, รัฐบาลเร่งปราบผู้มีอิทธิพล ฯลฯ 18.36 16.75 17.55
--สวนดุสิตโพล--
สถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง 1,686 คน
เพศ ? ชาย 752 คน 44.60 % ? หญิง 934 คน 55.40 %
การติดตามข่าว “การวางระเบิด”
ติดตามตลอด231 คน 13.70 %
ติดตามบ้าง 1,431 คน 84.88 %
ไม่ค่อยได้ติดตาม 24 คน 1.42 %
1 ประชาชนที่ติดตามข่าว “การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด” คิดว่าเรื่องที่เกิดขึ้น “เป็นเรื่องการเมืองหรือไม่?”
ชาย หญิง เฉลี่ย
เป็นเรื่องการเมือง 43.32 % 35.79 % 39.56 %
เพราะ เป็นการสร้างสถานการณ์,สร้างความวุ่นวาย / เหตุการณ์เกิดใกล้วันอภิปรายไม่ไว้วางใจ,ทำลายภาพลักษณ์ของรัฐบาล / กดดันรัฐบาล ฯลฯ
ไม่เป็นเรื่องการเมือง 15.79 % 8.36 % 12.07 %
เพราะ เป็นเรื่องของการขัดผลประโยชน์, ยังไม่ปรากฎหลักฐานชัดเจน ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 40.89 % 55.85 % 48.37 %
2 ประชาชนที่ติดตามข่าว “การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด” คิดอย่างไร? กับ กรณีที่เกิดขึ้น
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่สมควรประณามผู้ก่อเหตุอย่างยิ่ง 36.55 48.89 42.72
อันดับที่ 2 ทำลายความเชื่อมั่นของรัฐบาล/ใกล้วันอภิปราย/เกมการเมือง 26.90 31.11 29.01
อันดับที่ 3 เสียหายทั้งชีวิต/ทรัพย์สิน/ชื่อเสียงของประเทศ 20.30 8.89 14.59
อันดับที่ 4 สร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชนโดยตรง 14.21 6.67 10.44
* อื่น ๆ เช่น สมเพช, เป็นการกระทำของคนขายชาติ ฯลฯ 2.04 4.44 3.24
3 แนวทางแก้ไขปัญหา
“การวางระเบิด / การขู่วางระเบิด”
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เจ้าหน้าที่ต้องเร่งจับผู้ร้าย/เข้มงวดเด็ดขาดในการปฏิบัติหน้าที่ 38.78 29.19 33.99
อันดับที่ 2 ควบคุม/ตรวจจับ วัตถุระเบิด, อาวุธสงคราม 22.45 28.65 25.55
อันดับที่ 3 สร้างจิตสำนึกทั้งส่วนตัวและส่วนรวมถึงผลเสียที่เกิดขึ้น 20.41 25.41 22.91
* อื่น ๆ เช่น ฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านควรหันหน้ามาช่วยแก้ปัญหาบ้านเมือง
อย่ามัวแต่เล่นเกมการเมือง, รัฐบาลเร่งปราบผู้มีอิทธิพล ฯลฯ 18.36 16.75 17.55
--สวนดุสิตโพล--