ทุกครั้งที่มีการเปิดรับสมัครนักเรียนเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา มักจะเกิดเหตุการณ์ “ความไม่สมหวัง” ในรูปแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้ผิดหวัง ต่าง ๆ นานา นับตั้งแต่การทำร้ายตัวเองลักษณะการฆ่าตัวตาย การประชดชีวิตหรือเลือกแนวทางต่าง ๆ ที่ผิด โดยเฉพาะในปีนี้ ประเทศต้องผจญกับปัญหาเศรษฐกิจ ผู้ปกครองต้องดิ้นรนกับปัญหาความฝืดเคือง ยิ่งเพิ่มความหนักหนาสาหัสของปัญหามากยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อการป้องกันปัญหาดังกล่าวได้ทางหนึ่ง “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สะท้อนความคิดเห็นของ นักเรียนที่จะเรียนต่อระดับอุดมศึกษาในปีการศึกษา 2542 จากโรงเรียนต่าง ๆ ทั่วประเทศ 235 โรงเรียน จำนวนนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง 11,722 คน (ชาย 5,032 คน 42.93 % หญิง 6,690 คน 57.07 %) ระหว่างวันที่
15 พฤศจิกายน - 26 ธันวาคม 2541 สรุปผลการสำรวจได้ดังนี้
1. สถานศึกษาที่นักเรียนต้องการเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาในยุค IMF
อันดับที่ สถานศึกษา ชาย หญิง เฉลี่ย
1 มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ 29.43 30.26 29.84
2 สถาบันราชภัฏ 20.54 22.70 21.62
3 มหาวิทยาลัยเปิด (รามคำแหง / มสธ.) 19.10 17.46 18.28
4 มหาวิทยาลัยเอกชน 16.78 16.92 16.85
5 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 13.02 12.15 12.59
* อื่น ๆ เช่น สถานศึกษาต่างประเทศ ฯลฯ 1.13 0.51 0.82
2. อันดับของปัจจัยที่นักเรียนใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกสถาบันในการเรียนต่อในยุค IMF
อันดับที่ ปัจจัยที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ ชาย หญิง เฉลี่ย
1 มีมาตรฐานการสอน 12.35 13.10 12.72
2 เป็นของรัฐบาล 9.66 12.82 11.24
3 ใกล้บ้าน / อยู่ในจังหวัดของนักเรียนคนนั้นๆ 11.00 10.51 10.76
4 ค่าเล่าเรียนถูก 11.02 9.96 10.49
5 สิ่งแวดล้อมดี 11.07 9.52 10.30
6 ครู / อาจารย์ดี 9.99 9.54 9.76
7 มีอุปกรณ์ / เทคโนโลยีทันสมัย 8.93 10.09 9.51
8 หางานง่าย 9.60 9.39 9.49
9 มีชื่อเสียง 9.05 9.18 9.12
10 เรียนง่าย 7.33 5.89 6.61
3. อันดับสาขาวิชาที่นักเรียนต้องการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาในยุค IMF 2
นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 นิเทศศาสตร์ 20.12 %
อันดับที่ 2 บริหารธุรกิจ / การจัดการ 13.02 %
อันดับที่ 3 วิศวกรรมศาสตร์ 8.88 %
อันดับที่ 4 วิทยาศาสตร์ 7.40 %
อันดับที่ 5 รัฐศาสตร์ 6.80 %
ฯลฯ
นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 บริหารธุรกิจ / การจัดการ 15.60 %
อันดับที่ 2 มนุษยศาสตร์ 14.54 %
อันดับที่ 3 นิเทศศาสตร์ 13.12 %
อันดับที่ 4 ศิลปศาสตร์ 10.99 %
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 7.80 %
ฯลฯ
4. นักเรียนอยากเรียนต่อในสถาบันราชภัฏหรือไม่ ?
ชาย หญิง เฉลี่ย
? อยากเรียน 64.99 57.35 61.17
เหตุผล ใกล้บ้าน, เรียนเหมือนมหาวิทยาลัยปิด, เป็นของรัฐ, ค่าเล่าเรียนถูก, มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก,มีมาตรฐาน การสอนพอ ๆ กับมหาวิทยาลัยของรัฐ, มีสาขาที่ต้องการเรียน ฯลฯ
ไม่อยากเรียน 35.01 42.65 38.83
เหตุผล มีคณะที่ต้องการให้เลือกเรียนน้อย, หางานยาก, ไม่ใช่มหาวิทยาลัย, ไม่ชอบเพราะเป็นวิทยาลัยครู, ยังไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ ฯลฯ
5. นักเรียนอยากให้ “สถาบันราชภัฏ” ทำอย่างไร ? จึงจะ “ถูกใจ” และ ทำให้ “เลือกเรียนต่อ” อันดับที่ สิ่งที่อยากให้ทำ ชาย หญิง เฉลี่ย
1 เพิ่มสาขาวิชา / คณะให้มากขึ้น 22.97 23.81 23.39
2 พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอน 12.72 28.17 20.45
3 ปรับเปลี่ยนให้เหมือนมหาวิทยาลัย (เปลี่ยนชื่อ) 21.91 9.13 15.52
4 รับนักศึกษาเพิ่มให้มากขึ้น 10.24 9.53 9.89
5 ปรับปรุงสถานที่ (อาคาร / สิ่งแวดล้อม) 7.42 4.76 6.09
6 หางานง่าย / มีงานรองรับเมื่อจบ 2.83 8.73 5.78
7 มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัย 4.95 5.16 5.05
8 ลดค่าเล่าเรียน 6.01 1.59 3.80
9 พัฒนาคุณภาพนักศึกษา (รุ่นพี่ที่เรียนอยู่แล้ว) 1.06 5.16 3.11 10 มีทุนการศึกษามาก ๆ 1.06 1.98 1.52
* อื่น ๆ เช่น มีการร่วมกับมหาวิทยาลัย,ไม่เข้มงวดกับนักศึกษามากเกินไป 8.83 1.98 5.40
--สวนดุสิตโพล--
15 พฤศจิกายน - 26 ธันวาคม 2541 สรุปผลการสำรวจได้ดังนี้
1. สถานศึกษาที่นักเรียนต้องการเข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาในยุค IMF
อันดับที่ สถานศึกษา ชาย หญิง เฉลี่ย
1 มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ 29.43 30.26 29.84
2 สถาบันราชภัฏ 20.54 22.70 21.62
3 มหาวิทยาลัยเปิด (รามคำแหง / มสธ.) 19.10 17.46 18.28
4 มหาวิทยาลัยเอกชน 16.78 16.92 16.85
5 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 13.02 12.15 12.59
* อื่น ๆ เช่น สถานศึกษาต่างประเทศ ฯลฯ 1.13 0.51 0.82
2. อันดับของปัจจัยที่นักเรียนใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกสถาบันในการเรียนต่อในยุค IMF
อันดับที่ ปัจจัยที่ใช้ประกอบการตัดสินใจ ชาย หญิง เฉลี่ย
1 มีมาตรฐานการสอน 12.35 13.10 12.72
2 เป็นของรัฐบาล 9.66 12.82 11.24
3 ใกล้บ้าน / อยู่ในจังหวัดของนักเรียนคนนั้นๆ 11.00 10.51 10.76
4 ค่าเล่าเรียนถูก 11.02 9.96 10.49
5 สิ่งแวดล้อมดี 11.07 9.52 10.30
6 ครู / อาจารย์ดี 9.99 9.54 9.76
7 มีอุปกรณ์ / เทคโนโลยีทันสมัย 8.93 10.09 9.51
8 หางานง่าย 9.60 9.39 9.49
9 มีชื่อเสียง 9.05 9.18 9.12
10 เรียนง่าย 7.33 5.89 6.61
3. อันดับสาขาวิชาที่นักเรียนต้องการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาในยุค IMF 2
นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 นิเทศศาสตร์ 20.12 %
อันดับที่ 2 บริหารธุรกิจ / การจัดการ 13.02 %
อันดับที่ 3 วิศวกรรมศาสตร์ 8.88 %
อันดับที่ 4 วิทยาศาสตร์ 7.40 %
อันดับที่ 5 รัฐศาสตร์ 6.80 %
ฯลฯ
นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 บริหารธุรกิจ / การจัดการ 15.60 %
อันดับที่ 2 มนุษยศาสตร์ 14.54 %
อันดับที่ 3 นิเทศศาสตร์ 13.12 %
อันดับที่ 4 ศิลปศาสตร์ 10.99 %
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 7.80 %
ฯลฯ
4. นักเรียนอยากเรียนต่อในสถาบันราชภัฏหรือไม่ ?
ชาย หญิง เฉลี่ย
? อยากเรียน 64.99 57.35 61.17
เหตุผล ใกล้บ้าน, เรียนเหมือนมหาวิทยาลัยปิด, เป็นของรัฐ, ค่าเล่าเรียนถูก, มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก,มีมาตรฐาน การสอนพอ ๆ กับมหาวิทยาลัยของรัฐ, มีสาขาที่ต้องการเรียน ฯลฯ
ไม่อยากเรียน 35.01 42.65 38.83
เหตุผล มีคณะที่ต้องการให้เลือกเรียนน้อย, หางานยาก, ไม่ใช่มหาวิทยาลัย, ไม่ชอบเพราะเป็นวิทยาลัยครู, ยังไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ ฯลฯ
5. นักเรียนอยากให้ “สถาบันราชภัฏ” ทำอย่างไร ? จึงจะ “ถูกใจ” และ ทำให้ “เลือกเรียนต่อ” อันดับที่ สิ่งที่อยากให้ทำ ชาย หญิง เฉลี่ย
1 เพิ่มสาขาวิชา / คณะให้มากขึ้น 22.97 23.81 23.39
2 พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอน 12.72 28.17 20.45
3 ปรับเปลี่ยนให้เหมือนมหาวิทยาลัย (เปลี่ยนชื่อ) 21.91 9.13 15.52
4 รับนักศึกษาเพิ่มให้มากขึ้น 10.24 9.53 9.89
5 ปรับปรุงสถานที่ (อาคาร / สิ่งแวดล้อม) 7.42 4.76 6.09
6 หางานง่าย / มีงานรองรับเมื่อจบ 2.83 8.73 5.78
7 มีอุปกรณ์การเรียนการสอนที่ทันสมัย 4.95 5.16 5.05
8 ลดค่าเล่าเรียน 6.01 1.59 3.80
9 พัฒนาคุณภาพนักศึกษา (รุ่นพี่ที่เรียนอยู่แล้ว) 1.06 5.16 3.11 10 มีทุนการศึกษามาก ๆ 1.06 1.98 1.52
* อื่น ๆ เช่น มีการร่วมกับมหาวิทยาลัย,ไม่เข้มงวดกับนักศึกษามากเกินไป 8.83 1.98 5.40
--สวนดุสิตโพล--