ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั่วทุกภูมิภาคเป็นสาเหตุของปัญหาการอพยพหนีภัย
แล้ง “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของประชาชนที่เดินทางอพยพหนีภัย
แล้งเข้ามาในกรุงเทพฯทั่วทุกภูมิภาคซึ่งได้แก่ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคเหนือ
และภาคใต้ โดยทำการสอบถามจากสถานีขนส่งหมอชิต หัวลำโพง สายใต้ใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 1,747 คน
(ชาย 808 คน 46.25% หญิง 939 คน 53.75%) สำรวจระหว่างวันที่ 21 - 23 มีนาคม
2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” เดินทางเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ กี่ครั้ง
อันดับที่ 1 มากกว่า 4 ครั้ง 47.62%
อันดับที่ 2 มาเป็นครั้งแรก 22.72%
อันดับที่ 3 2 — 3 ครั้ง 19.00%
อันดับที่ 4 3 — 4 ครั้ง 8.87%
* ไม่ระบุ 1.77%
2. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ใช้เงินจากที่ใดในการเดินทางเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ
อันดับที่ 1 เงินเก็บส่วนตัว 74.89%
อันดับที่ 2 กู้ยืมมา 9.08%
อันดับที่ 3 เรี่ยไรจากญาติ/พี่น้อง 6.50%
อันดับที่ 4 พ่อแม่ให้มา 5.94%
อันดับที่ 5 จำนำทรัพย์สิน 1.18%
ฯลฯ
3. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ที่เดินทางเข้ามาในกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับใคร
อันดับที่ 1 ญาติ / พี่น้อง 38.70%
อันดับที่ 2 บ้านเช่า 35.86%
อันดับที่ 3 คนรู้จัก 18.26%
อันดับที่ 4 โรงแรม 1.56%
อันดับที่ 5 บ้านพักของตัวเอง 1.34%
ฯลฯ
4. เหตุผลที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 รายได้ไม่เพียงพอ 24.76%
อันดับที่ 2 ไม่มีงานทำ / ว่างงาน 24.46%
อันดับที่ 3 หมดฤดูเก็บเกี่ยว 18.29%
อันดับที่ 4 ประสบปัญหาภัยแล้ง 16.44%
อันดับที่ 5 ถูกเลิกจ้างงาน 13.27%
* อื่นๆ เช่น มีคนแนะนำ,มีความมั่นคงกว่า ฯลฯ 2.79%
5. งานที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการทำในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 รับจ้าง 37.04%
อันดับที่ 2 พนักงานบริษัท 25.20%
อันดับที่ 3 ทำงานในโรงงาน 7.53%
อันดับที่ 4 ค้าขาย 4.93%
อันดับที่ 5 ช่างก่อสร้าง 4.48%
ฯลฯ
6. ค่าจ้างที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการโดยเฉลี่ยต่อวันคือ 225 บาท
7. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ส่วนใหญ่นำเงินที่ได้จากการทำงานไปทำอะไรบ้าง
อันดับที่ 1 ส่งกลับบ้าน 23.84%
อันดับที่ 2 เป็นเงินออม 23.37%
อันดับที่ 3 ใช้หนี้สิน 18.44%
อันดับที่ 4 เป็นค่าเล่าเรียนลูก 16.16%
อันดับที่ 5 นำไปเป็นทุนในการทำไร่ ทำนา 15.85%
* อื่นๆ 2.35%
8. ระยะเวลาที่“ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” จะทำงานในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความเหมาะสม 78.13%
อันดับที่ 2 3 เดือน 4.24%
อันดับที่ 3 1 ปี 3.38%
อันดับที่ 4 1 ปีครึ่ง 1.72%
อันดับที่ 5 6 เดือน 1.03%
ฯลฯ
9. สิ่งที่“ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” จะทำหากหางานทำในกรุงเทพฯ ไม่ได้ คือ
อันดับที่ 1 กลับบ้านเกิด / กลับไปทำงานที่บ้าน 65.61%
อันดับที่ 2 หางานทำไปเรื่อยๆ 15.68%
อันดับที่ 3 เรียนหนังสือ 5.10%
อันดับที่ 4 ค้าขาย / ขายของ 3.70%
อันดับที่ 5 ทำไร่ / ทำนา / การเกษตร 3.40%
ฯลฯ
10. สิ่งที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” กลัวมากที่สุดเมื่อเข้ามาในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 ถูกหลอกลวง 19.30%
อันดับที่ 2 กลัวหางานทำไม่ได้ 18.95%
อันดับที่ 3 ค่าจ้างไม่เพียงพอ 16.75%
อันดับที่ 4 กลัวเจอโจรผู้ร้าย 16.01%
อันดับที่ 5 กลัวอุบัติเหตุ 14.79%
อันดับที่ 6 ไม่มีที่อยู่อาศัย 13.78%
ฯลฯ
11. จังหวัดที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” คิดว่าอยากไปทำงานนอกจากกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 เชียงใหม่ 19.41%
อันดับที่ 2 ชลบุรี 17.46%
อันดับที่ 3 ภูเก็ต 9.47%
อันดับที่ 4 ระยอง 5.66%
อันดับที่ 5 นครราชสีมา 3.71%
ฯลฯ
12. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” พึงพอใจกับการแก้ไขปัญหาภัยแล้งของรัฐบาลมากน้อยเพียงใด
อันดับที่ 1 เฉยๆ 40.18%
เพราะ รัฐบาลแก้ปัญหาเต็มที่แล้ว,เป็นภัยธรรมชาติ,เป็นเรื่องของผู้นำประเทศที่ต้องแก้ไข ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอใจ 29.65%
เพราะ รัฐบาลตั้งใจแก้ไขปัญหา,ทำให้ชีวิตของประชาชนดีขึ้น,รัฐบาลแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่พอใจ 21.98%
เพราะ การช่วยเหลือยังไม่ทั่วถึง,การทำงานไม่ต่อเนื่อง ล่าช้า,แก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ฯลฯ
13. สิ่งที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการให้รัฐบาลแก้ไขหรือให้ความช่วยเหลือเรื่องภัยแล้ง คือ
อันดับที่ 1 เร่งสร้างเขื่อนเก็บน้ำ / ขุดลอกคูคลองเพิ่มมากขึ้น 21.47%
อันดับที่ 2 สร้างอาชีพเสริมให้กับประชาชน / ช่วยเหลือประชาชน 18.16%
อันดับที่ 3 ทำฝนหลวงในพื้นที่ที่ประสบภัยแล้ง 17.75%
อันดับที่ 4 ช่วยเหลือทางด้านเกษตรกรรมกับเกษตรกรที่ประสบปัญหา 6.09%
อันดับที่ 5 มีรถส่งน้ำตามหมู่บ้านให้ประชาชนมีน้ำใช้อย่างทั่วถึง 5.88%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
แล้ง “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต จึงได้สอบถามความคิดเห็นของประชาชนที่เดินทางอพยพหนีภัย
แล้งเข้ามาในกรุงเทพฯทั่วทุกภูมิภาคซึ่งได้แก่ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคเหนือ
และภาคใต้ โดยทำการสอบถามจากสถานีขนส่งหมอชิต หัวลำโพง สายใต้ใหม่ จำนวนทั้งสิ้น 1,747 คน
(ชาย 808 คน 46.25% หญิง 939 คน 53.75%) สำรวจระหว่างวันที่ 21 - 23 มีนาคม
2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” เดินทางเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ กี่ครั้ง
อันดับที่ 1 มากกว่า 4 ครั้ง 47.62%
อันดับที่ 2 มาเป็นครั้งแรก 22.72%
อันดับที่ 3 2 — 3 ครั้ง 19.00%
อันดับที่ 4 3 — 4 ครั้ง 8.87%
* ไม่ระบุ 1.77%
2. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ใช้เงินจากที่ใดในการเดินทางเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ
อันดับที่ 1 เงินเก็บส่วนตัว 74.89%
อันดับที่ 2 กู้ยืมมา 9.08%
อันดับที่ 3 เรี่ยไรจากญาติ/พี่น้อง 6.50%
อันดับที่ 4 พ่อแม่ให้มา 5.94%
อันดับที่ 5 จำนำทรัพย์สิน 1.18%
ฯลฯ
3. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ที่เดินทางเข้ามาในกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่กับใคร
อันดับที่ 1 ญาติ / พี่น้อง 38.70%
อันดับที่ 2 บ้านเช่า 35.86%
อันดับที่ 3 คนรู้จัก 18.26%
อันดับที่ 4 โรงแรม 1.56%
อันดับที่ 5 บ้านพักของตัวเอง 1.34%
ฯลฯ
4. เหตุผลที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องเข้ามาหางานทำในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 รายได้ไม่เพียงพอ 24.76%
อันดับที่ 2 ไม่มีงานทำ / ว่างงาน 24.46%
อันดับที่ 3 หมดฤดูเก็บเกี่ยว 18.29%
อันดับที่ 4 ประสบปัญหาภัยแล้ง 16.44%
อันดับที่ 5 ถูกเลิกจ้างงาน 13.27%
* อื่นๆ เช่น มีคนแนะนำ,มีความมั่นคงกว่า ฯลฯ 2.79%
5. งานที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการทำในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 รับจ้าง 37.04%
อันดับที่ 2 พนักงานบริษัท 25.20%
อันดับที่ 3 ทำงานในโรงงาน 7.53%
อันดับที่ 4 ค้าขาย 4.93%
อันดับที่ 5 ช่างก่อสร้าง 4.48%
ฯลฯ
6. ค่าจ้างที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการโดยเฉลี่ยต่อวันคือ 225 บาท
7. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ส่วนใหญ่นำเงินที่ได้จากการทำงานไปทำอะไรบ้าง
อันดับที่ 1 ส่งกลับบ้าน 23.84%
อันดับที่ 2 เป็นเงินออม 23.37%
อันดับที่ 3 ใช้หนี้สิน 18.44%
อันดับที่ 4 เป็นค่าเล่าเรียนลูก 16.16%
อันดับที่ 5 นำไปเป็นทุนในการทำไร่ ทำนา 15.85%
* อื่นๆ 2.35%
8. ระยะเวลาที่“ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” จะทำงานในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความเหมาะสม 78.13%
อันดับที่ 2 3 เดือน 4.24%
อันดับที่ 3 1 ปี 3.38%
อันดับที่ 4 1 ปีครึ่ง 1.72%
อันดับที่ 5 6 เดือน 1.03%
ฯลฯ
9. สิ่งที่“ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” จะทำหากหางานทำในกรุงเทพฯ ไม่ได้ คือ
อันดับที่ 1 กลับบ้านเกิด / กลับไปทำงานที่บ้าน 65.61%
อันดับที่ 2 หางานทำไปเรื่อยๆ 15.68%
อันดับที่ 3 เรียนหนังสือ 5.10%
อันดับที่ 4 ค้าขาย / ขายของ 3.70%
อันดับที่ 5 ทำไร่ / ทำนา / การเกษตร 3.40%
ฯลฯ
10. สิ่งที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” กลัวมากที่สุดเมื่อเข้ามาในกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 ถูกหลอกลวง 19.30%
อันดับที่ 2 กลัวหางานทำไม่ได้ 18.95%
อันดับที่ 3 ค่าจ้างไม่เพียงพอ 16.75%
อันดับที่ 4 กลัวเจอโจรผู้ร้าย 16.01%
อันดับที่ 5 กลัวอุบัติเหตุ 14.79%
อันดับที่ 6 ไม่มีที่อยู่อาศัย 13.78%
ฯลฯ
11. จังหวัดที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” คิดว่าอยากไปทำงานนอกจากกรุงเทพฯ คือ
อันดับที่ 1 เชียงใหม่ 19.41%
อันดับที่ 2 ชลบุรี 17.46%
อันดับที่ 3 ภูเก็ต 9.47%
อันดับที่ 4 ระยอง 5.66%
อันดับที่ 5 นครราชสีมา 3.71%
ฯลฯ
12. “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” พึงพอใจกับการแก้ไขปัญหาภัยแล้งของรัฐบาลมากน้อยเพียงใด
อันดับที่ 1 เฉยๆ 40.18%
เพราะ รัฐบาลแก้ปัญหาเต็มที่แล้ว,เป็นภัยธรรมชาติ,เป็นเรื่องของผู้นำประเทศที่ต้องแก้ไข ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอใจ 29.65%
เพราะ รัฐบาลตั้งใจแก้ไขปัญหา,ทำให้ชีวิตของประชาชนดีขึ้น,รัฐบาลแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่พอใจ 21.98%
เพราะ การช่วยเหลือยังไม่ทั่วถึง,การทำงานไม่ต่อเนื่อง ล่าช้า,แก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ฯลฯ
13. สิ่งที่ “ประชาชนที่หนีภัยแล้ง” ต้องการให้รัฐบาลแก้ไขหรือให้ความช่วยเหลือเรื่องภัยแล้ง คือ
อันดับที่ 1 เร่งสร้างเขื่อนเก็บน้ำ / ขุดลอกคูคลองเพิ่มมากขึ้น 21.47%
อันดับที่ 2 สร้างอาชีพเสริมให้กับประชาชน / ช่วยเหลือประชาชน 18.16%
อันดับที่ 3 ทำฝนหลวงในพื้นที่ที่ประสบภัยแล้ง 17.75%
อันดับที่ 4 ช่วยเหลือทางด้านเกษตรกรรมกับเกษตรกรที่ประสบปัญหา 6.09%
อันดับที่ 5 มีรถส่งน้ำตามหมู่บ้านให้ประชาชนมีน้ำใช้อย่างทั่วถึง 5.88%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-