กระแสข่าว “การฆ่าตัวตายของนักศึกษา” ได้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างหนักถึงปัญหาสังคมในปัจจุบัน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤติขณะนี้ มิให้เกิดเหตุการณ์ที่น่าสลดใจซ้ำซาก “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของ นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน 1,332 คน (นักศึกษาชาย 598 คน 44.89% นักศึกษาหญิง 734 คน 55.11%) ระหว่างวันที่ 22 -25 พฤศจิกายน 2542 สรุปผลได้ดังนี้
1. ปัญหาที่หนักใจของ “นักศึกษา” ในปัจจุบันเรียงลำดับได้ดังนี้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ครอบครัว 23.67% 23.16% 23.42%
อันดับที่ 2 การเรียน 21.96% 22.97% 22.46%
อันดับที่ 3 การเงิน 18.61% 19.06% 18.84%
อันดับที่ 4 ความรัก 18.38% 16.47% 17.43%
อันดับที่ 5 เพื่อน 16.59% 16.88% 16.73%
* อื่น ๆ เช่น ยาเสพติด, การพนัน ฯลฯ 0.79% 1.46% 1.12%
2. ปัญหาหนักใจที่อาจทำให้นักศึกษาคิดฆ่าตัวตายได้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ครอบครัว 35.65% 37.34% 36.49%
อันดับที่ 2 ความรัก 22.13% 27.11% 24.62%
อันดับที่ 3 การเรียน 20.49% 23.11% 21.80%
อันดับที่ 4 การเงิน 17.22% 8.44% 12.83%
อันดับที่ 5 ปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ (โรคเอดส์) 3.69% 2.67% 3.18%
* อื่น ๆ เช่น ยาเสพติด, ความเครียด ฯลฯ 0.82% 1.33% 1.08%
3. ถ้ามีปัญหาหนักใจเรื่องต่อไปนี้ นักศึกษาจะแก้ไขอย่างไร ?
* ปัญหาครอบครัวแตกแยก/พ่อแม่ไม่รัก
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ประพฤติตัวให้ดี/เหมาะสมกับการเป็นนักศึกษา 36.49% 29.65% 33.07%
อันดับที่ 2 ให้เวลากับครอบครัวมากขึ้น/พูดคุยกัน 35.44% 25.19% 30.31%
อันดับที่ 3 ทำความเข้าใจกับสภาพปัญหา/ยอมรับความจริง 16.84% 22.05% 19.44%
อันดับที่ 4 ปรึกษาคนที่เข้าใจเรา/ญาติ พี่น้อง เพื่อนสนิท 6.67% 8.92% 7.80%
อันดับที่ 5 หางานอดิเรก/กิจกรรมอื่นๆทำ 2.80% 8.15% 5.48%
* อื่น ๆ เช่น พึ่งธรรมะ, ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ฯลฯ 1.76% 6.04% 3.90%
* ปัญหาเพื่อนไม่เข้าใจ/ไม่มีเพื่อน
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 พยายามปรับความเข้าใจกับเพื่อน 42.12% 40.06% 41.09%
อันดับที่ 2 พยายามปรับตัวเข้าหาเพื่อน 36.63% 29.36% 32.99%
อันดับที่ 3 หาเพื่อนใหม่ 13.55% 7.95% 10.76%
อันดับที่ 4 ดูตนเองแล้วปรับปรุงแก้ไขข้อเสีย 3.30% 14.98% 9.14%
อันดับที่ 5 พยายามสร้างมนุษยสัมพันธ์ 2.93% 4.59% 3.76%
* อื่น ๆ เช่น ปรึกษาพ่อแม่ 1.47% 3.06% 2.26%
* ปัญหาการเรียนไม่ดี/สอบตก/เรียนไม่สำเร็จ
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เวลาอาจารย์สอนควรตั้งใจเรียน/ตั้งใจให้มากขึ้น 80.62% 56.94% 68.78%
อันดับที่ 2 ขยันอ่านหนังสือให้มากขึ้น 7.27% 31.56% 19.42%
อันดับที่ 3 ปรึกษาพ่อแม่/ปรึกษาอาจารย์ 6.57% 4.42% 5.49%
อันดับที่ 4 หาที่เรียนพิเศษ/ให้เพื่อนติวให้ 4.84% 2.07% 3.46%
อันดับที่ 5 เรียนในสิ่งที่ตนถนัดและชอบ - 4.42% 2.21%
* อื่น ๆ เช่น ลดการเที่ยวเตร่ 0.70% 0.59% 0.64%
* ปัญหาการเงิน/ไม่มีเงินใช้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 รู้จักใช้เงินอย่างประหยัด 35.29% 53.14% 44.21%
อันดับที่ 2 หางานพิเศษทำ 53.63% 24.72% 39.18%
อันดับที่ 3 ขอยืมเพื่อน 5.88% 8.12% 7.00%
อันดับที่ 4 กู้เงินมาเรียน 1.38% 10.70% 6.04%
อันดับที่ 5 ขอพ่อแม่เพิ่ม 3.82% 3.32% 3.57%
* ปัญหาความรัก/อกหัก
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ทำใจ/หักห้ามใจ/ตั้งสติให้ดี 34.54% 48.38% 41.46%
อันดับที่ 2 หาแฟนใหม่ 43.08% 13.49% 28.28%
อันดับที่ 3 ปรึกษากับครอบครัว 4.46% 19.07% 11.77%
อันดับที่ 4 อยู่กับเพื่อน/เที่ยวกับเพื่อน 7.78% 12.09% 9.93%
อันดับที่ 5 ควรหันมามุ่งเรียนมากกว่าความรัก 6.90% 4.18% 5.54%
* อื่น ๆ เช่น เป็นโสด, พึ่งธรรมะ ฯลฯ 3.24% 2.79% 3.02%
--สวนดุสิตโพล--
1. ปัญหาที่หนักใจของ “นักศึกษา” ในปัจจุบันเรียงลำดับได้ดังนี้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ครอบครัว 23.67% 23.16% 23.42%
อันดับที่ 2 การเรียน 21.96% 22.97% 22.46%
อันดับที่ 3 การเงิน 18.61% 19.06% 18.84%
อันดับที่ 4 ความรัก 18.38% 16.47% 17.43%
อันดับที่ 5 เพื่อน 16.59% 16.88% 16.73%
* อื่น ๆ เช่น ยาเสพติด, การพนัน ฯลฯ 0.79% 1.46% 1.12%
2. ปัญหาหนักใจที่อาจทำให้นักศึกษาคิดฆ่าตัวตายได้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ครอบครัว 35.65% 37.34% 36.49%
อันดับที่ 2 ความรัก 22.13% 27.11% 24.62%
อันดับที่ 3 การเรียน 20.49% 23.11% 21.80%
อันดับที่ 4 การเงิน 17.22% 8.44% 12.83%
อันดับที่ 5 ปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ (โรคเอดส์) 3.69% 2.67% 3.18%
* อื่น ๆ เช่น ยาเสพติด, ความเครียด ฯลฯ 0.82% 1.33% 1.08%
3. ถ้ามีปัญหาหนักใจเรื่องต่อไปนี้ นักศึกษาจะแก้ไขอย่างไร ?
* ปัญหาครอบครัวแตกแยก/พ่อแม่ไม่รัก
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ประพฤติตัวให้ดี/เหมาะสมกับการเป็นนักศึกษา 36.49% 29.65% 33.07%
อันดับที่ 2 ให้เวลากับครอบครัวมากขึ้น/พูดคุยกัน 35.44% 25.19% 30.31%
อันดับที่ 3 ทำความเข้าใจกับสภาพปัญหา/ยอมรับความจริง 16.84% 22.05% 19.44%
อันดับที่ 4 ปรึกษาคนที่เข้าใจเรา/ญาติ พี่น้อง เพื่อนสนิท 6.67% 8.92% 7.80%
อันดับที่ 5 หางานอดิเรก/กิจกรรมอื่นๆทำ 2.80% 8.15% 5.48%
* อื่น ๆ เช่น พึ่งธรรมะ, ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ฯลฯ 1.76% 6.04% 3.90%
* ปัญหาเพื่อนไม่เข้าใจ/ไม่มีเพื่อน
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 พยายามปรับความเข้าใจกับเพื่อน 42.12% 40.06% 41.09%
อันดับที่ 2 พยายามปรับตัวเข้าหาเพื่อน 36.63% 29.36% 32.99%
อันดับที่ 3 หาเพื่อนใหม่ 13.55% 7.95% 10.76%
อันดับที่ 4 ดูตนเองแล้วปรับปรุงแก้ไขข้อเสีย 3.30% 14.98% 9.14%
อันดับที่ 5 พยายามสร้างมนุษยสัมพันธ์ 2.93% 4.59% 3.76%
* อื่น ๆ เช่น ปรึกษาพ่อแม่ 1.47% 3.06% 2.26%
* ปัญหาการเรียนไม่ดี/สอบตก/เรียนไม่สำเร็จ
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เวลาอาจารย์สอนควรตั้งใจเรียน/ตั้งใจให้มากขึ้น 80.62% 56.94% 68.78%
อันดับที่ 2 ขยันอ่านหนังสือให้มากขึ้น 7.27% 31.56% 19.42%
อันดับที่ 3 ปรึกษาพ่อแม่/ปรึกษาอาจารย์ 6.57% 4.42% 5.49%
อันดับที่ 4 หาที่เรียนพิเศษ/ให้เพื่อนติวให้ 4.84% 2.07% 3.46%
อันดับที่ 5 เรียนในสิ่งที่ตนถนัดและชอบ - 4.42% 2.21%
* อื่น ๆ เช่น ลดการเที่ยวเตร่ 0.70% 0.59% 0.64%
* ปัญหาการเงิน/ไม่มีเงินใช้
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 รู้จักใช้เงินอย่างประหยัด 35.29% 53.14% 44.21%
อันดับที่ 2 หางานพิเศษทำ 53.63% 24.72% 39.18%
อันดับที่ 3 ขอยืมเพื่อน 5.88% 8.12% 7.00%
อันดับที่ 4 กู้เงินมาเรียน 1.38% 10.70% 6.04%
อันดับที่ 5 ขอพ่อแม่เพิ่ม 3.82% 3.32% 3.57%
* ปัญหาความรัก/อกหัก
น.ศ.ชาย น.ศ.หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ทำใจ/หักห้ามใจ/ตั้งสติให้ดี 34.54% 48.38% 41.46%
อันดับที่ 2 หาแฟนใหม่ 43.08% 13.49% 28.28%
อันดับที่ 3 ปรึกษากับครอบครัว 4.46% 19.07% 11.77%
อันดับที่ 4 อยู่กับเพื่อน/เที่ยวกับเพื่อน 7.78% 12.09% 9.93%
อันดับที่ 5 ควรหันมามุ่งเรียนมากกว่าความรัก 6.90% 4.18% 5.54%
* อื่น ๆ เช่น เป็นโสด, พึ่งธรรมะ ฯลฯ 3.24% 2.79% 3.02%
--สวนดุสิตโพล--