"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สอบถามประชาชนเกี่ยวกับ "ภัยในวันลอยกระทง" โดยเฉพาะ "การเล่นพลุ
และดอกไม้ไฟ" เพื่อช่วยตอกย้ำความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยสอบถามประชาชนในกรุงเทพฯและเมืองใหญ่ที่มีการเล่นพลุ
ดอกไม้ไฟกันอย่างกว้างขวางใน 11 จังหวัด (กรุงเทพฯ เชียงใหม่ สุโขทัย นครสวรรค์ อยุธยา สมุทรปราการ นครราชสีมา
อุบลราชธานี ชลบุรี สงขลา และภูเก็ต) จำนวนทั้งสิ้น 2,783 คน ระหว่างวันที่ 18 - 29 ตุลาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ภัยที่ประชาชนหวาดกลัวและไม่อยากให้เกิดในเทศกาลลอยกระทง
อันดับที่ 1 พลุ ดอกไม้ไฟระเบิด / ไฟไหม้จากพลุ ดอกไม้ไฟ 37.05%
อันดับที่ 2 เรือล่ม / อุบัติเหตุทางน้ำ 36.40%
อันดับที่ 3 การล่วงละเมิดทางเพศ / ล่อลวง / ฆ่าข่มขืน 14.95%
อันดับที่ 4 จี้ / ปล้น / ล้วงกระเป๋า / ลักทรัพย์ 7.37%
อันดับที่ 5 ทะเลาะวิวาท / เมาสุรา 4.23%
2. การเล่นพลุ / ดอกไม้ไฟในเทศกาลลอยกระทง "ได้มากกว่าเสีย" หรือ "เสียมากกว่าได้"
อันดับที่ 1 เสียมากกว่าได้ 58.28%
เพราะ อันตราย, ประมาท, คนเมาสุรามีมาก, ทำให้เกิดระเบิด/ไฟไหม้ได้ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอๆกัน 30.26%
เพราะ คนเล่นก็สนุก คนขายพลุดอกไม้ไฟก็ได้เงิน, ได้ทั้งความสวยงาม/
สนุกสนาน, เล่นกันมานานแล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 ได้มากกว่าเสีย 11.46%
เพราะ การลอยกระทงจะสวยงาม, ธุรกิจขายพลุ / ดอกไม้ไฟสามารถ
ทำรายได้ ฯลฯ
3. สาเหตุที่ทำให้ "การเล่นพลุ / ดอกไม้ไฟ" เกิดอันตราย ?
อันดับที่ 1 ประมาท / เลินเล่อ / ไม่ระมัดระวัง 37.98%
อันดับที่ 2 คึกคะนอง / สนุกเกินเหตุ 29.50%
อันดับที่ 3 เมาสุรา ขาดสติ 18.65%
อันดับที่ 4 รู้เท่าไม่ถึงการณ์ / ไม่รู้ถึงอันตราย 7.58%
อันดับที่ 5 การผลิตพลุ / ดอกไม้ไฟไม่ได้มาตรฐาน 4.35%
อื่นๆ เช่น ไม่มีการควบคุม / ป้องกันอย่างจริงจัง ฯลฯ 1.94%
4. รัฐบาล / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรป้องกัน / แก้ไขอย่างไร ? กรณี : พลุ ดอกไม้ไฟในเทศกาล
ลอยกระทง
อันดับที่ 1 กวดขัน / ตรวจร้านขายพลุ ดอกไม้ไฟอย่างจริงจัง 40.46%
อันดับที่ 2 จัดเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมดูแล / ตรวจตรา การเล่นพลุ
ดอกไม้ไฟในงานลอยกระทงทุกงาน 29.50%
อันดับที่ 3 เจ้าหน้าที่ตำรวจกวดขัน / ตรวจจับคนที่เล่นพลุ ดอกไม้ไฟที่
คึกคะนอง เมาสุรา 11.46%
อันดับที่ 4 ประชาสัมพันธ์ภัยจากพลุ ดอกไม้ไฟให้ประชาชนได้รับรู้อย่าง
กว้างขวาง 11.14%
อันดับที่ 5 กวดขัน / ตรวจการผลิตพลุ ดอกไม้ไฟให้ได้มาตรฐาน 6.04%
อื่นๆ เช่น กำหนดประเภทพลุ ดอกไม้ไฟที่เป็นอันตรายห้ามเล่น
อย่างชัดเจน, กำหนดเขตการเล่นพลุ ดอกไม้ไฟในเขตที่ปลอดภัยฯลฯ 1.40%
--สวนดุสิตโพล--
และดอกไม้ไฟ" เพื่อช่วยตอกย้ำความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินโดยสอบถามประชาชนในกรุงเทพฯและเมืองใหญ่ที่มีการเล่นพลุ
ดอกไม้ไฟกันอย่างกว้างขวางใน 11 จังหวัด (กรุงเทพฯ เชียงใหม่ สุโขทัย นครสวรรค์ อยุธยา สมุทรปราการ นครราชสีมา
อุบลราชธานี ชลบุรี สงขลา และภูเก็ต) จำนวนทั้งสิ้น 2,783 คน ระหว่างวันที่ 18 - 29 ตุลาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ภัยที่ประชาชนหวาดกลัวและไม่อยากให้เกิดในเทศกาลลอยกระทง
อันดับที่ 1 พลุ ดอกไม้ไฟระเบิด / ไฟไหม้จากพลุ ดอกไม้ไฟ 37.05%
อันดับที่ 2 เรือล่ม / อุบัติเหตุทางน้ำ 36.40%
อันดับที่ 3 การล่วงละเมิดทางเพศ / ล่อลวง / ฆ่าข่มขืน 14.95%
อันดับที่ 4 จี้ / ปล้น / ล้วงกระเป๋า / ลักทรัพย์ 7.37%
อันดับที่ 5 ทะเลาะวิวาท / เมาสุรา 4.23%
2. การเล่นพลุ / ดอกไม้ไฟในเทศกาลลอยกระทง "ได้มากกว่าเสีย" หรือ "เสียมากกว่าได้"
อันดับที่ 1 เสียมากกว่าได้ 58.28%
เพราะ อันตราย, ประมาท, คนเมาสุรามีมาก, ทำให้เกิดระเบิด/ไฟไหม้ได้ง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 2 พอๆกัน 30.26%
เพราะ คนเล่นก็สนุก คนขายพลุดอกไม้ไฟก็ได้เงิน, ได้ทั้งความสวยงาม/
สนุกสนาน, เล่นกันมานานแล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 ได้มากกว่าเสีย 11.46%
เพราะ การลอยกระทงจะสวยงาม, ธุรกิจขายพลุ / ดอกไม้ไฟสามารถ
ทำรายได้ ฯลฯ
3. สาเหตุที่ทำให้ "การเล่นพลุ / ดอกไม้ไฟ" เกิดอันตราย ?
อันดับที่ 1 ประมาท / เลินเล่อ / ไม่ระมัดระวัง 37.98%
อันดับที่ 2 คึกคะนอง / สนุกเกินเหตุ 29.50%
อันดับที่ 3 เมาสุรา ขาดสติ 18.65%
อันดับที่ 4 รู้เท่าไม่ถึงการณ์ / ไม่รู้ถึงอันตราย 7.58%
อันดับที่ 5 การผลิตพลุ / ดอกไม้ไฟไม่ได้มาตรฐาน 4.35%
อื่นๆ เช่น ไม่มีการควบคุม / ป้องกันอย่างจริงจัง ฯลฯ 1.94%
4. รัฐบาล / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรป้องกัน / แก้ไขอย่างไร ? กรณี : พลุ ดอกไม้ไฟในเทศกาล
ลอยกระทง
อันดับที่ 1 กวดขัน / ตรวจร้านขายพลุ ดอกไม้ไฟอย่างจริงจัง 40.46%
อันดับที่ 2 จัดเจ้าหน้าที่ตำรวจควบคุมดูแล / ตรวจตรา การเล่นพลุ
ดอกไม้ไฟในงานลอยกระทงทุกงาน 29.50%
อันดับที่ 3 เจ้าหน้าที่ตำรวจกวดขัน / ตรวจจับคนที่เล่นพลุ ดอกไม้ไฟที่
คึกคะนอง เมาสุรา 11.46%
อันดับที่ 4 ประชาสัมพันธ์ภัยจากพลุ ดอกไม้ไฟให้ประชาชนได้รับรู้อย่าง
กว้างขวาง 11.14%
อันดับที่ 5 กวดขัน / ตรวจการผลิตพลุ ดอกไม้ไฟให้ได้มาตรฐาน 6.04%
อื่นๆ เช่น กำหนดประเภทพลุ ดอกไม้ไฟที่เป็นอันตรายห้ามเล่น
อย่างชัดเจน, กำหนดเขตการเล่นพลุ ดอกไม้ไฟในเขตที่ปลอดภัยฯลฯ 1.40%
--สวนดุสิตโพล--