“ทหาร” และ “ตำรวจ” ผู้ที่มีหน้าที่โดยตรง กรณี “ความมั่นคง” และ “ความปลอดภัย” ของประชาชนและ
ประเทศชาติ กรณี “กะเหรี่ยงบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี” ได้ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง “สวน
ดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของทหาร จำนวน 627 คน 51.73% และ ตำรวจ
จำนวน 585 คน 48.27% รวมทั้งสิ้น 1,212 คน ระหว่างวันที่ 25 | 26 มกราคม 2543 สรุปผลสำรวจ
ได้ดังนี้
1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี ในทัศนะของ “ทหาร” และ “ตำรวจ”
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ต้องการแพทย์รักษาผู้ป่วยของกะเหรี่ยง 15.17% 52.28% 33.73%
อันดับที่ 2 ขาดความระมัดระวัง/ ประมาท 38.20% 22.84% 29.02%
อันดับที่ 3 เรียกร้องความสนใจ/เรียกร้องประชาธิปไตย 17.42% 7.61% 12.52%
ฯลฯ
2. “ทหาร” และ “ตำรวจ” แนะวิธีการ “ปราบปราม” การบุกยึดสถานที่
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ใช้มาตรการรุนแรงเด็ดขาด เพื่อไม่ให้เป็น
เยี่ยงอย่าง 54.95% 83.67% 69.31%
อันดับที่ 2 เจรจาประนีประนอมก่อน ถ้าไม่สำเร็จค่อยใช้
วิธีที่รุนแรง 26.36% 14.29% 20.33%
อันดับที่ 3 กวดขันการอพยพเข้าเมืองอย่างเข้มงวด 13.74% 2.04% 7.89%
ฯลฯ
3. วิธีการ “ป้องกัน” ไม่ให้เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นอีก
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เพิ่มมาตรการเข้า- ออก บริเวณชายแดน 37.24% 63.72% 50.48%
อันดับที่ 2 เข้มงวดด้านความปลอดภัย 46.43% 6.12% 26.28%
อันดับที่ 3 เพิ่มมาตรการด้านข่าวกรองให้ดีกว่านี้/ ปรับปรุง
พัฒนาด้านข่าวกรอง 13.27% 12.95% 13.11%
ฯลฯ
4. “ทหาร” และ “ตำรวจ” เห็นด้วยกับการปราบปรามโดยการจับตายผู้ก่อการครั้งนี้หรือไม่ ?
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
? เห็นด้วย 85.64% 96.88% 91.26%
เพราะ จะได้ไม่เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นอีก, ศักดิ์ศรีของประเทศ, เป็น
อันตรายต่อประชาชน ฯลฯ
? ไม่เห็นด้วย 14.36% 3.12% 8.74%
เพราะ เสียภาพพจน์ของประเทศที่เป็นเมืองพุทธ, ใช้ความรุนแรงเกินไป ฯลฯ
5. จากเหตุการณ์นี้มีผลกระทบต่อภาพพจน์ของประเทศไทยหรือไม่ ?
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
? มีผลกระทบ 68.75% 66.67% 67.71%
เพราะ ขาดประสิทธิภาพในการป้องกันประเทศ, ถ้าไม่เด็ดขาดภาพพจน์ของประเทศจะยิ่งแย่ ฯลฯ
? ไม่มีผลกระทบ 31.25% 33.33% 32.29%
เพราะ ทำเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ, ทำดีที่สุดแล้ว, เป็นเหตุสุดวิสัย ฯลฯ
6. บทเรียนจากเหตุการณ์นี้ที่ “ทหาร” และ “ตำรวจ” ควรนำมาใช้ประโยชน์
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขโดยใช้
เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นบทเรียน/แก้ไขข้อบกพร่อง 43.29% 55.31% 49.30%
อันดับที่ 2 ระมัดระวัง/ เข้มงวดในการตรวจคนเข้าเมืองให้
มากขึ้น 23.78% 12.85% 18.31%
อันดับที่ 3 เพิ่มกำลังของหน่วยข่าวกรอง/ การตรวจสอบ
ของหน่วยข่าวกรอง 15.85% 14.52% 15.19%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
ประเทศชาติ กรณี “กะเหรี่ยงบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี” ได้ก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง “สวน
ดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของทหาร จำนวน 627 คน 51.73% และ ตำรวจ
จำนวน 585 คน 48.27% รวมทั้งสิ้น 1,212 คน ระหว่างวันที่ 25 | 26 มกราคม 2543 สรุปผลสำรวจ
ได้ดังนี้
1. สาเหตุที่ทำให้เกิดการบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี ในทัศนะของ “ทหาร” และ “ตำรวจ”
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ต้องการแพทย์รักษาผู้ป่วยของกะเหรี่ยง 15.17% 52.28% 33.73%
อันดับที่ 2 ขาดความระมัดระวัง/ ประมาท 38.20% 22.84% 29.02%
อันดับที่ 3 เรียกร้องความสนใจ/เรียกร้องประชาธิปไตย 17.42% 7.61% 12.52%
ฯลฯ
2. “ทหาร” และ “ตำรวจ” แนะวิธีการ “ปราบปราม” การบุกยึดสถานที่
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ใช้มาตรการรุนแรงเด็ดขาด เพื่อไม่ให้เป็น
เยี่ยงอย่าง 54.95% 83.67% 69.31%
อันดับที่ 2 เจรจาประนีประนอมก่อน ถ้าไม่สำเร็จค่อยใช้
วิธีที่รุนแรง 26.36% 14.29% 20.33%
อันดับที่ 3 กวดขันการอพยพเข้าเมืองอย่างเข้มงวด 13.74% 2.04% 7.89%
ฯลฯ
3. วิธีการ “ป้องกัน” ไม่ให้เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นอีก
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เพิ่มมาตรการเข้า- ออก บริเวณชายแดน 37.24% 63.72% 50.48%
อันดับที่ 2 เข้มงวดด้านความปลอดภัย 46.43% 6.12% 26.28%
อันดับที่ 3 เพิ่มมาตรการด้านข่าวกรองให้ดีกว่านี้/ ปรับปรุง
พัฒนาด้านข่าวกรอง 13.27% 12.95% 13.11%
ฯลฯ
4. “ทหาร” และ “ตำรวจ” เห็นด้วยกับการปราบปรามโดยการจับตายผู้ก่อการครั้งนี้หรือไม่ ?
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
? เห็นด้วย 85.64% 96.88% 91.26%
เพราะ จะได้ไม่เกิดเหตุการณ์นี้ขึ้นอีก, ศักดิ์ศรีของประเทศ, เป็น
อันตรายต่อประชาชน ฯลฯ
? ไม่เห็นด้วย 14.36% 3.12% 8.74%
เพราะ เสียภาพพจน์ของประเทศที่เป็นเมืองพุทธ, ใช้ความรุนแรงเกินไป ฯลฯ
5. จากเหตุการณ์นี้มีผลกระทบต่อภาพพจน์ของประเทศไทยหรือไม่ ?
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
? มีผลกระทบ 68.75% 66.67% 67.71%
เพราะ ขาดประสิทธิภาพในการป้องกันประเทศ, ถ้าไม่เด็ดขาดภาพพจน์ของประเทศจะยิ่งแย่ ฯลฯ
? ไม่มีผลกระทบ 31.25% 33.33% 32.29%
เพราะ ทำเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ, ทำดีที่สุดแล้ว, เป็นเหตุสุดวิสัย ฯลฯ
6. บทเรียนจากเหตุการณ์นี้ที่ “ทหาร” และ “ตำรวจ” ควรนำมาใช้ประโยชน์
ทหาร ตำรวจ เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขโดยใช้
เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นบทเรียน/แก้ไขข้อบกพร่อง 43.29% 55.31% 49.30%
อันดับที่ 2 ระมัดระวัง/ เข้มงวดในการตรวจคนเข้าเมืองให้
มากขึ้น 23.78% 12.85% 18.31%
อันดับที่ 3 เพิ่มกำลังของหน่วยข่าวกรอง/ การตรวจสอบ
ของหน่วยข่าวกรอง 15.85% 14.52% 15.19%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--