กระแสข่าวการจะรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย" ที่มีทั้ง "สนับสนุน" และ "คัดค้าน" เป็นอีกภาพ
หนึ่งของการเมืองไทย ที่ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพในเขตกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล โดยจำแนกตามกลุ่มอายุ ตามความนิยมชมชอบในพรรคการเมืองของแต่ละกลุ่ม จำนวน 1,500 คน ระหว่าง
วันที่ 24 - 27 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความยุ่งยาก / ปัญหาในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
คงจะยุ่งยากและมีปัญหา 74.67%
เพราะ ลูกพรรคแต่ละพรรคมีความเห็นต่างกัน,จัดสรรตำแหน่งไม่ลงตัว,นโยบายพรรคไม่สอดคล้องกัน ฯลฯ
คงจะไม่ยุ่งยากและไม่มีปัญหา 22.00%
เพราะ อยู่ในรัฐบาลเดียวกัน, ทำงานเข้ากันได้ดี, ถ้าทั้งสองพรรคมีเป้าหมายเดียวกัน ฯลฯ
ไม่ระบุ 3.33%
2. "ผลดี" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
อันดับที่ 1 สามารถช่วยกันพัฒนาประเทศไทย/มีหลายความคิด 54.34%
อันดับที่ 2 ฝ่ายรัฐบาลมีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ 28.32%
อันดับที่ 3 เป็นการปฏิรูปทางการเมือง / ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง 10.40%
อันดับที่ 4 การทำงานรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมมากขึ้น 4.05%
อันดับที่ 5 จะได้มีคนใหม่ ๆ ที่สามารถทำงานได้ดีกว่าคนเดิม 1.73%
* อื่น ๆ เช่น ประหยัดงบประมาณของทั้ง 2 พรรค, ปรับปรุงพรรคให้เป็นระบบมากขึ้น ฯลฯ 1.16%
3. "ผลเสีย" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
อันดับที่ 1 เกิดการแย่งตำแหน่งกัน / เกิดการคอรัปชั่นได้ง่าย 68.85%
อันดับที่ 2 ทำให้เกิดเผด็จการทางการเมือง / ไม่มีการคานอำนาจระหว่างรัฐบาลและฝ่ายค้าน 13.81%
อันดับที่ 3 เป็นการปฏิรูปทางการเมือง / ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง 10.40%
อันดับที่ 4 การทำงานรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมมากขึ้น 4.05%
อันดับที่ 5 จะได้มีคนใหม่ ๆ ที่สามารถทำงานได้ดีกว่าคนเดิม 1.73%
* อื่น ๆ เช่น ประหยัดงบประมาณของทั้ง 2 พรรค, ปรับปรุงพรรคให้เป็นระบบมากขึ้น ฯลฯ 1.16%
4. เปรียบเทียบ "ผลดี" กับ "ผลเสีย" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลเสียมากกว่าผลดี 37.67%
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 25.00%
อันดับที่ 3 มีผลดีกับผลเสียพอ ๆ กัน 21.67%
อันดับที่ 4 มีผลดีมากกว่าผลเสีย 12.33%
* อื่น ๆ 3.33%
5. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ ? กับการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 42.00%
เพราะ ระบบการทำงานต่างกัน, พรรคความหวังใหม่ทำให้เศรษฐกิจบ้านเมืองล่มสลาย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 25.67%
เพราะ ขึ้นอยู่กับทั้งสองพรรค,แยกพรรคยังไม่ค่อยสามัคคีกัน, อาจเกิดปัญหาในภายหลัง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วยโดยไม่มีเงื่อนไข 17.33%
เพราะ เป็นการรวมกลุ่มเหมือนปกติ, จะได้ช่วยกันแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 4 เห็นด้วยโดยมีเงื่อนไข 11.33%
เพราะ ถ้ารวมแล้วต้องเกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ, ไม่มีการแก่งแย่งชิงดีกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 3.67%
6. ถ้าการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย" สำเร็จ การเมืองไทยจะเป็นอย่างไร?
ภาพรวม
อันดับที่ 1 ประเทศชาติจะวุ่นวายและการเมืองไทยจะไม่พัฒนา 36.79%
อันดับที่ 2 การเมืองไทยจะดีขึ้นถ้าทั้งสองฝ่ายสามัคคีกัน 21.70%
อันดับที่ 3 พรรคไทยรักไทยจะมีอำนาจทางการเมืองมาก กลายเป็นเผด็จการรัฐสภา 20.76%
อันดับที่ 4 มีความมั่นคงและก้าวหน้ามากขึ้นถ้ามีพรรคการเมือง 2 พรรคเหมือนสหรัฐ 11.32%
* อื่น ๆ เช่น ง่ายต่อการควบคุมดูแลและลดความขัดแย้งในสภา 9.43%
--สวนดุสิตโพล--
หนึ่งของการเมืองไทย ที่ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพในเขตกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล โดยจำแนกตามกลุ่มอายุ ตามความนิยมชมชอบในพรรคการเมืองของแต่ละกลุ่ม จำนวน 1,500 คน ระหว่าง
วันที่ 24 - 27 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความยุ่งยาก / ปัญหาในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
คงจะยุ่งยากและมีปัญหา 74.67%
เพราะ ลูกพรรคแต่ละพรรคมีความเห็นต่างกัน,จัดสรรตำแหน่งไม่ลงตัว,นโยบายพรรคไม่สอดคล้องกัน ฯลฯ
คงจะไม่ยุ่งยากและไม่มีปัญหา 22.00%
เพราะ อยู่ในรัฐบาลเดียวกัน, ทำงานเข้ากันได้ดี, ถ้าทั้งสองพรรคมีเป้าหมายเดียวกัน ฯลฯ
ไม่ระบุ 3.33%
2. "ผลดี" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
อันดับที่ 1 สามารถช่วยกันพัฒนาประเทศไทย/มีหลายความคิด 54.34%
อันดับที่ 2 ฝ่ายรัฐบาลมีเสถียรภาพในการบริหารประเทศ 28.32%
อันดับที่ 3 เป็นการปฏิรูปทางการเมือง / ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง 10.40%
อันดับที่ 4 การทำงานรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมมากขึ้น 4.05%
อันดับที่ 5 จะได้มีคนใหม่ ๆ ที่สามารถทำงานได้ดีกว่าคนเดิม 1.73%
* อื่น ๆ เช่น ประหยัดงบประมาณของทั้ง 2 พรรค, ปรับปรุงพรรคให้เป็นระบบมากขึ้น ฯลฯ 1.16%
3. "ผลเสีย" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
อันดับที่ 1 เกิดการแย่งตำแหน่งกัน / เกิดการคอรัปชั่นได้ง่าย 68.85%
อันดับที่ 2 ทำให้เกิดเผด็จการทางการเมือง / ไม่มีการคานอำนาจระหว่างรัฐบาลและฝ่ายค้าน 13.81%
อันดับที่ 3 เป็นการปฏิรูปทางการเมือง / ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง 10.40%
อันดับที่ 4 การทำงานรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมมากขึ้น 4.05%
อันดับที่ 5 จะได้มีคนใหม่ ๆ ที่สามารถทำงานได้ดีกว่าคนเดิม 1.73%
* อื่น ๆ เช่น ประหยัดงบประมาณของทั้ง 2 พรรค, ปรับปรุงพรรคให้เป็นระบบมากขึ้น ฯลฯ 1.16%
4. เปรียบเทียบ "ผลดี" กับ "ผลเสีย" ในการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลเสียมากกว่าผลดี 37.67%
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 25.00%
อันดับที่ 3 มีผลดีกับผลเสียพอ ๆ กัน 21.67%
อันดับที่ 4 มีผลดีมากกว่าผลเสีย 12.33%
* อื่น ๆ 3.33%
5. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ ? กับการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย"
ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย 42.00%
เพราะ ระบบการทำงานต่างกัน, พรรคความหวังใหม่ทำให้เศรษฐกิจบ้านเมืองล่มสลาย ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 25.67%
เพราะ ขึ้นอยู่กับทั้งสองพรรค,แยกพรรคยังไม่ค่อยสามัคคีกัน, อาจเกิดปัญหาในภายหลัง ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นด้วยโดยไม่มีเงื่อนไข 17.33%
เพราะ เป็นการรวมกลุ่มเหมือนปกติ, จะได้ช่วยกันแก้ปัญหา ฯลฯ
อันดับที่ 4 เห็นด้วยโดยมีเงื่อนไข 11.33%
เพราะ ถ้ารวมแล้วต้องเกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ, ไม่มีการแก่งแย่งชิงดีกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 3.67%
6. ถ้าการรวม "พรรคความหวังใหม่" เข้ากับ "พรรคไทยรักไทย" สำเร็จ การเมืองไทยจะเป็นอย่างไร?
ภาพรวม
อันดับที่ 1 ประเทศชาติจะวุ่นวายและการเมืองไทยจะไม่พัฒนา 36.79%
อันดับที่ 2 การเมืองไทยจะดีขึ้นถ้าทั้งสองฝ่ายสามัคคีกัน 21.70%
อันดับที่ 3 พรรคไทยรักไทยจะมีอำนาจทางการเมืองมาก กลายเป็นเผด็จการรัฐสภา 20.76%
อันดับที่ 4 มีความมั่นคงและก้าวหน้ามากขึ้นถ้ามีพรรคการเมือง 2 พรรคเหมือนสหรัฐ 11.32%
* อื่น ๆ เช่น ง่ายต่อการควบคุมดูแลและลดความขัดแย้งในสภา 9.43%
--สวนดุสิตโพล--