“สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวน
2,149 คน กรณี "การปรับครม." เพื่อสะท้อนภาพทั้งผลดีและผลเสีย รวมทั้งการไม่ให้เกิดความวุ่นวายในการปรับครม. โดย
สำรวจระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ทำไมนักการเมืองจึงอยากเป็นรัฐมนตรีกันนัก ?
ร้อยละ
อันดับที่ 1 จะได้มีอำนาจมากขึ้น 52.70%
อันดับที่ 2 มีชื่อเสียง/มีคนรู้จักมากขึ้น 27.70%
อันดับที่ 3 ได้ผลประโยชน์มากจากอาชีพนี้ 12.16%
อื่นๆ เช่น อยากแก้ไขปัญหาในประเทศ, เป็นอาชีพที่ก้าวหน้า ฯลฯ 7.44%
2. ผลดี ในการปรับครม.
ร้อยละ
อันดับที่ 1 ทำให้ได้คนที่เหมาะสมกับตำแหน่งนั้นจริงๆ 32.39%
อันดับที่ 2 จะได้มีคนใหม่ๆเข้ามาทำงาน 27.05%
อันดับที่ 3 ปรับปรุงระบบการทำงานเปลี่ยนจากรูปแบบเดิม 24.30%
อื่นๆ เช่น สามารถตรวจสอบการทำงานได้,คนที่ไม่ดีจะได้ออกไป ฯลฯ 16.26%
3. ผลเสีย ในการปรับครม.
ร้อยละ
อันดับที่ 1 การทำงานไม่ต่อเนื่องต้องเริ่มใหม่ 73.53%
อันดับที่ 2 เป็นช่องทางในการแก่งแย่งอำนาจของนักการเมือง 12.75%
อันดับที่ 3 เสียงบประมาณ / เสียเวลา 7.84%
อื่นๆ เช่น ไม่ได้คนที่เหมาะสมมาทำงาน, คงไม่ดีขึ้น ฯลฯ 5.88%
4. ทำอย่างไร ? การปรับครม.จึงจะไม่วุ่นวาย
ร้อยละ
อันดับที่ 1 ไม่ควรคำนึงถึงผลประโยชน์ตัวเองจากงานที่รับผิดชอบ 29.52%
อันดับที่ 2 รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและแก้ปัญหาด้วยเหตุผล 25.71%
อันดับที่ 3 หาบุคคลที่เหมาะสม/มีอุดมการณ์ทางการเมือง 24.77%
อื่นๆ เช่น ยังไงก็วุ่นวายเหมือนเดิม, ค่อยๆแก้ทีละจุด ฯลฯ 20.00%
--สวนดุสิตโพล--
2,149 คน กรณี "การปรับครม." เพื่อสะท้อนภาพทั้งผลดีและผลเสีย รวมทั้งการไม่ให้เกิดความวุ่นวายในการปรับครม. โดย
สำรวจระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ทำไมนักการเมืองจึงอยากเป็นรัฐมนตรีกันนัก ?
ร้อยละ
อันดับที่ 1 จะได้มีอำนาจมากขึ้น 52.70%
อันดับที่ 2 มีชื่อเสียง/มีคนรู้จักมากขึ้น 27.70%
อันดับที่ 3 ได้ผลประโยชน์มากจากอาชีพนี้ 12.16%
อื่นๆ เช่น อยากแก้ไขปัญหาในประเทศ, เป็นอาชีพที่ก้าวหน้า ฯลฯ 7.44%
2. ผลดี ในการปรับครม.
ร้อยละ
อันดับที่ 1 ทำให้ได้คนที่เหมาะสมกับตำแหน่งนั้นจริงๆ 32.39%
อันดับที่ 2 จะได้มีคนใหม่ๆเข้ามาทำงาน 27.05%
อันดับที่ 3 ปรับปรุงระบบการทำงานเปลี่ยนจากรูปแบบเดิม 24.30%
อื่นๆ เช่น สามารถตรวจสอบการทำงานได้,คนที่ไม่ดีจะได้ออกไป ฯลฯ 16.26%
3. ผลเสีย ในการปรับครม.
ร้อยละ
อันดับที่ 1 การทำงานไม่ต่อเนื่องต้องเริ่มใหม่ 73.53%
อันดับที่ 2 เป็นช่องทางในการแก่งแย่งอำนาจของนักการเมือง 12.75%
อันดับที่ 3 เสียงบประมาณ / เสียเวลา 7.84%
อื่นๆ เช่น ไม่ได้คนที่เหมาะสมมาทำงาน, คงไม่ดีขึ้น ฯลฯ 5.88%
4. ทำอย่างไร ? การปรับครม.จึงจะไม่วุ่นวาย
ร้อยละ
อันดับที่ 1 ไม่ควรคำนึงถึงผลประโยชน์ตัวเองจากงานที่รับผิดชอบ 29.52%
อันดับที่ 2 รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและแก้ปัญหาด้วยเหตุผล 25.71%
อันดับที่ 3 หาบุคคลที่เหมาะสม/มีอุดมการณ์ทางการเมือง 24.77%
อื่นๆ เช่น ยังไงก็วุ่นวายเหมือนเดิม, ค่อยๆแก้ทีละจุด ฯลฯ 20.00%
--สวนดุสิตโพล--