ตามที่สำนักงานปฏิรูปการศึกษา (สปศ.) ได้จัดประชุมการนำเสนอรายงานการปฏิรูปการศึกษา เมื่อวันที่ 25 เมษายน ที่ผ่านมา "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 307 คน ถึง ความคาดหวัง ต่อ "การปฏิรูปการศึกษา" สรุปประเด็นสำคัญ ๆ ได้ดังนี้
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนทั้งสิ้น คน
ผู้บริหารการศึกษา
96 คน
31.27%
ครู/อาจารย์/นักวิชาการ
118 คน
38.44%
นักศึกษา
16 คน
5.21%
ประชาชน
51 คน
16.61%
สื่อมวลชน
10 คน
3.26%
อื่น ๆ เช่น พระภิกษุ, แม่ชี, นักการเมืองฯลฯ
16 คน
5.21%
1. การรับรู้เกี่ยวกับ “การปฏิรูปการศึกษา”
รู้อย่างดี 27.59%
พอรู้ 64.53%
ไม่ค่อยรู้ 6.90%
ไม่รู้เลย 0.98%
2. เหตุผลในการเข้าร่วมประชุมของกลุ่มตัวอย่าง
อันดับที่ 1 สนใจประเด็นนี้ 49.50%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ต้องรับผิดชอบ 39.11%
อันดับที่ 3 ต้องการซักถาม 1.98%
* อื่น ๆ 9.41%
เช่น ได้รับเชิญ ฯลฯ
3. ความมั่นใจในความสำเร็จของ “การปฏิรูปการศึกษา”
คงจะสำเร็จ 86.46%
โดยใช้เวลาเฉลี่ย 7 ปี
เพราะ เป็นกฎหมาย/รัฐธรรมนูญที่บังคับไว้, ทุกฝ่ายให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง, เป็นประโยชน์กับประเทศชาติ ฯลฯ
คงจะไม่สำเร็จ 13.54%
เพราะ ไม่ได้เน้นเนื้อหาเป็นเพียงการเปลี่ยนระบบใหม่, ต้องมีความร่วมมือกันทุกฝ่ายให้มากกว่านี้ ฯลฯ
4. ลำดับสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาสำเร็จ
อันดับที่ 1 ครู/อาจารย์ 18.75%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารการศึกษา 17.84%
อันดับที่ 3 นโยบายการศึกษา 17.54%
อันดับที่ 4 โรงเรียน/สถานศึกษา 10.46%
อันดับที่ 5 ระบบการศึกษา 14.45%
อันดับที่ 6 หลักสูตร 14.22%
อันดับที่ 7 นักเรียน/นักศึกษา 6.13%
* อื่น ๆ เช่น ประชาชนทุกคนต้องร่วมมือกัน ฯลฯ 0.61%
อุปสรรคสำคัญใน "การปฏิรูปการศึกษา"
อันดับที่ 1 บุคลากรทางการศึกษา/ ผู้บริหารการศึกษาไม่ยอมปฏิรูปตนเอง 19.54%
อันดับที่ 2 ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน และการไม่ยอมรับการปฏิรูป 18.40%
อันดับที่ 3 ขาดงบประมาณและการสนับสนุน 14.94%
อันดับที่ 4 แนวทางและนโยบายการศึกษา 13.79%
อันดับที่ 4 ผลประโยชน์และการคอรัปชั่น 13.79%
อันดับที่ 6 ความไม่เชื่อมั่นในการปฏิรูป 10.35%
*อื่น ๆ เช่น ไม่เห็นความสำคัญของพระพุทธศาสนา, การแทรกแซงทางการเมือง ฯลฯ 9.19%
6. ทำอย่างไร? จึงจะ “ปฏิรูปการศึกษา” ได้สำเร็จ
อันดับที่ 1 นักการศึกษาต้องร่วมมือกัน 49.62%
อันดับที่ 2 รัฐบาลต้องดำเนินการอย่างจริงจัง 16.03%
อันดับที่ 3 ต้องสร้างความสำคัญและความเข้าใจในการปฏิรูป 13.74%
อันดับที่ 4 ควรมีการปฏิรูปตัวบุคคลก่อน 8.40%
อันดับที่ 5 ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดทางการศึกษา 5.34%
* อื่น ๆ เช่น การจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน, การจัดตั้งคณะกรรมการ ฯลฯ 6.87%
--สวนดุสิตโพล--
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนทั้งสิ้น คน
ผู้บริหารการศึกษา
96 คน
31.27%
ครู/อาจารย์/นักวิชาการ
118 คน
38.44%
นักศึกษา
16 คน
5.21%
ประชาชน
51 คน
16.61%
สื่อมวลชน
10 คน
3.26%
อื่น ๆ เช่น พระภิกษุ, แม่ชี, นักการเมืองฯลฯ
16 คน
5.21%
1. การรับรู้เกี่ยวกับ “การปฏิรูปการศึกษา”
รู้อย่างดี 27.59%
พอรู้ 64.53%
ไม่ค่อยรู้ 6.90%
ไม่รู้เลย 0.98%
2. เหตุผลในการเข้าร่วมประชุมของกลุ่มตัวอย่าง
อันดับที่ 1 สนใจประเด็นนี้ 49.50%
อันดับที่ 2 เป็นหน้าที่ต้องรับผิดชอบ 39.11%
อันดับที่ 3 ต้องการซักถาม 1.98%
* อื่น ๆ 9.41%
เช่น ได้รับเชิญ ฯลฯ
3. ความมั่นใจในความสำเร็จของ “การปฏิรูปการศึกษา”
คงจะสำเร็จ 86.46%
โดยใช้เวลาเฉลี่ย 7 ปี
เพราะ เป็นกฎหมาย/รัฐธรรมนูญที่บังคับไว้, ทุกฝ่ายให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง, เป็นประโยชน์กับประเทศชาติ ฯลฯ
คงจะไม่สำเร็จ 13.54%
เพราะ ไม่ได้เน้นเนื้อหาเป็นเพียงการเปลี่ยนระบบใหม่, ต้องมีความร่วมมือกันทุกฝ่ายให้มากกว่านี้ ฯลฯ
4. ลำดับสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาสำเร็จ
อันดับที่ 1 ครู/อาจารย์ 18.75%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารการศึกษา 17.84%
อันดับที่ 3 นโยบายการศึกษา 17.54%
อันดับที่ 4 โรงเรียน/สถานศึกษา 10.46%
อันดับที่ 5 ระบบการศึกษา 14.45%
อันดับที่ 6 หลักสูตร 14.22%
อันดับที่ 7 นักเรียน/นักศึกษา 6.13%
* อื่น ๆ เช่น ประชาชนทุกคนต้องร่วมมือกัน ฯลฯ 0.61%
อุปสรรคสำคัญใน "การปฏิรูปการศึกษา"
อันดับที่ 1 บุคลากรทางการศึกษา/ ผู้บริหารการศึกษาไม่ยอมปฏิรูปตนเอง 19.54%
อันดับที่ 2 ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน และการไม่ยอมรับการปฏิรูป 18.40%
อันดับที่ 3 ขาดงบประมาณและการสนับสนุน 14.94%
อันดับที่ 4 แนวทางและนโยบายการศึกษา 13.79%
อันดับที่ 4 ผลประโยชน์และการคอรัปชั่น 13.79%
อันดับที่ 6 ความไม่เชื่อมั่นในการปฏิรูป 10.35%
*อื่น ๆ เช่น ไม่เห็นความสำคัญของพระพุทธศาสนา, การแทรกแซงทางการเมือง ฯลฯ 9.19%
6. ทำอย่างไร? จึงจะ “ปฏิรูปการศึกษา” ได้สำเร็จ
อันดับที่ 1 นักการศึกษาต้องร่วมมือกัน 49.62%
อันดับที่ 2 รัฐบาลต้องดำเนินการอย่างจริงจัง 16.03%
อันดับที่ 3 ต้องสร้างความสำคัญและความเข้าใจในการปฏิรูป 13.74%
อันดับที่ 4 ควรมีการปฏิรูปตัวบุคคลก่อน 8.40%
อันดับที่ 5 ควรปรับเปลี่ยนแนวคิดทางการศึกษา 5.34%
* อื่น ๆ เช่น การจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน, การจัดตั้งคณะกรรมการ ฯลฯ 6.87%
--สวนดุสิตโพล--