แท็ก
สวนดุสิตโพล
"มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่" ร่วมกับ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฎสวนดุสิต สำรวจความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่ ระหว่างวันที่ 8 - 24 พฤษภาคม 2543 สรุปประเด็นสำคัญๆ ได้ดังนี้
1. คนต่างชาติมอง "การสูบบุหรี่ของคนไทย" อย่างไร (สำรวจคนต่างชาติ 660 คน)
ต้องเร่งแก้ไข
(1) ควรกวดขันเด็กและวัยรุ่นอย่าให้สูบบุหรี่ 77.74%
(2) ควรมีการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ให้มากกว่านี้ 54.65%
(3) กลัวอันตรายจากเพลิงไหม้ 45.83%
(4) ควรจัดสถานที่สูบให้เป็นหลักแหล่ง 42.53%
(5) รัฐต้องมีกฎหมายควบคุม / ปฏิบัติอย่างจริงจังมากกว่านี้ 39.39%
2. สูบบุหรี่อย่างไร ? จึงจะปลอดภัยกับสาธารณชน (สำรวจประชาชนทั่วไป 1,458 คน)
(1) ควรจะสูบบุหรี่ในสถานที่ที่จัดไว้ให้สูบ 39.13%
(2) ไม่ควรสูบในที่สาธารณะ 27.91%
(3) เลิกสูบบุหรี่ 13.42%
(4) สูบในที่ที่มีคนน้อย 12.22%
(5) สูบในที่ส่วนตัว 7.32%
* จะเห็นได้ว่าเน้นเรื่อง สถานที่สูบ ถึง 87.78%
3. ความในใจของ "ผู้สูญเสียเพราะบุหรี่" (สัมภาษณ์ญาติสนิทของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่ จำนวน 129 คน)
อันดับที่ 1 เลิกสูบเสียเถอะ ! สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน 37.21%
อันดับที่ 2 เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพ 36.43%
อันดับที่ 3 เป็นอันตรายต่อคนรอบข้าง 21.71%
อันดับที่ 4 รณรงค์อย่างไรก็ไร้ผลถ้าทุกคนคิดว่าบุหรี่เป็นยาเสพติด
ที่ถูกกฎหมาย 2.33%
อันดับที่ 5 การเลิกสูบบุหรี่อยู่ที่ "ใจ" 1.55%
*อื่น ๆ เช่น อยากให้ทุกคนได้ดูตัวอย่างจากผู้ป่วยจริง ๆ ฯลฯ 0.77%
4. ความในใจของ "คนขายบุหรี่" (สัมภาษณ์ร้านขายบุหรี่จำนวน 137 แห่ง)
4.1 การสำรวจพฤติกรรมการขายบุหรี่
จากการสำรวจในลักษณะการปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่เรียกว่า "Mystery shopper" โดยให้เด็กอายุ 14 - 15 ปี ไปซื้อบุหรี่จากร้านขายบุหรี่ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล จำนวน 137 แห่ง ผลปรากฎว่าสามารถซื้อบุหรี่ได้ถึง 123 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 89.78
**เป็นประเด็นที่น่าสนใจกรณีกฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้กับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
4.2 การสำรวจความในใจของ "คนขายบุหรี่"
จากการสำรวจ ร้านขายบุหรี่ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 201 แห่ง สรุปผลได้ดังนี้
(1) ในร้านที่ขายบุหรี่มีคนสูบบุหรี่หรือไม่ ?
มี95.02%
ไม่มี 4.98%
(2) ความคิดเห็นทั่วไปของคนขายบุหรี่ต่อผู้สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 เป็นเรื่องของแต่ละบุคคล / สิทธิส่วนบุคคล 27.36%
อันดับที่ 2 เป็นการทำลายสุขภาพ 22.39%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องธรรมดา เพราะถูกกฎหมาย 17.91%
อันดับที่ 4 สังคมรังเกียจ 17.41%
อันดับที่ 5 เป็นการคลายเครียด 14.93%
(3) "คนขายบุหรี่" อยากให้ "คนที่เขารัก" เลิกสูบบุหรี่หรือไม่ ?
อยากให้เลิก67.66%
เพราะ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ, รบกวนคนรอบข้าง, สิ้นเปลืองเงินทอง ฯลฯ
ปล่อยตามใจเขา 32.34%
เพราะ เป็นสิทธิส่วนบุคคล, คงจะเลิกยาก ฯลฯ
(4) ความในใจ "คนขายบุหรี่" ที่อยากบอก "คนที่สูบบุหรี่"
อันดับที่ 1 เลิกสูบบุหรี่เสียเถอะเป็นสิ่งไม่ดี/ ทำลายสุขภาพ 59.10%
อันดับที่ 2 เลิกสูบไม่ได้ก็ขอให้สูบน้อยลง 17.07%
อันดับที่ 3 ถ้าจะสูบบุหรี่ควรสูบในสถานที่ที่จัดไว้ 14.63%
* อื่น ๆ เช่น อย่าทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ฯลฯ 9.20%
5. หัวอกคนทำงานรณรงค์เพื่อไม่สูบบุหรี่ (สัมภาษณ์ผู้ทำงานประจำในการรณรงค์ ฯ 12 คน)
5.1 สาเหตุที่มาร่วมทำงานรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 เป็นงานที่ทำเพื่อสังคม/ อุทิศตน, เสียสละ/ ช่วยแก้ปัญหาให้สังคม 37.04%
อันดับที่ 2 รู้อันตราย/ พิษภัยของบุหรี่ 25.93%
อันดับที่ 3 เป็นงานที่ท้าทายความสามารถ 18.52%
อันดับที่ 4 ไม่ชอบบุหรี่/ แพ้บุหรี่ 11.11%
*อื่น ๆ เช่น ไม่อยากให้มีผู้ป่วยที่ทรมานจากพิษภัยบุหรี่เพิ่มมากขึ้น ฯลฯ 7.40%
5.2 อุปสรรคในการทำงานรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 งบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ 28.57%
อันดับที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ ยังไม่กระจายไปสู่ผู้บริโภคอย่างทั่วถึง 25.00%
(ทั้งในด้านสื่อ/ พื้นที่โดยเฉพาะต่างจังหวัด, ชุมชนในชนบท)
อันดับที่ 3 โรงงานยาสูบก็ยังผลิตอยู่/ มีการตลาดเชิงรุกที่มีทุนมาก 21.43%
อันดับที่ 4 การรณรงค์ไม่กระจายทั่วถึงเพราะบุคลากรน้อย 14.29%
*อื่น ๆ เช่น บุหรี่ราคาถูกและซื้อได้ง่ายแม้จะมีกฎหมายควบคุมแต่ก็ไม่ปฏิบัติ
อย่างจริงจัง ฯลฯ 10.71%
--สวนดุสิตโพล--
1. คนต่างชาติมอง "การสูบบุหรี่ของคนไทย" อย่างไร (สำรวจคนต่างชาติ 660 คน)
ต้องเร่งแก้ไข
(1) ควรกวดขันเด็กและวัยรุ่นอย่าให้สูบบุหรี่ 77.74%
(2) ควรมีการรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ให้มากกว่านี้ 54.65%
(3) กลัวอันตรายจากเพลิงไหม้ 45.83%
(4) ควรจัดสถานที่สูบให้เป็นหลักแหล่ง 42.53%
(5) รัฐต้องมีกฎหมายควบคุม / ปฏิบัติอย่างจริงจังมากกว่านี้ 39.39%
2. สูบบุหรี่อย่างไร ? จึงจะปลอดภัยกับสาธารณชน (สำรวจประชาชนทั่วไป 1,458 คน)
(1) ควรจะสูบบุหรี่ในสถานที่ที่จัดไว้ให้สูบ 39.13%
(2) ไม่ควรสูบในที่สาธารณะ 27.91%
(3) เลิกสูบบุหรี่ 13.42%
(4) สูบในที่ที่มีคนน้อย 12.22%
(5) สูบในที่ส่วนตัว 7.32%
* จะเห็นได้ว่าเน้นเรื่อง สถานที่สูบ ถึง 87.78%
3. ความในใจของ "ผู้สูญเสียเพราะบุหรี่" (สัมภาษณ์ญาติสนิทของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับบุหรี่ จำนวน 129 คน)
อันดับที่ 1 เลิกสูบเสียเถอะ ! สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน 37.21%
อันดับที่ 2 เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อสุขภาพ 36.43%
อันดับที่ 3 เป็นอันตรายต่อคนรอบข้าง 21.71%
อันดับที่ 4 รณรงค์อย่างไรก็ไร้ผลถ้าทุกคนคิดว่าบุหรี่เป็นยาเสพติด
ที่ถูกกฎหมาย 2.33%
อันดับที่ 5 การเลิกสูบบุหรี่อยู่ที่ "ใจ" 1.55%
*อื่น ๆ เช่น อยากให้ทุกคนได้ดูตัวอย่างจากผู้ป่วยจริง ๆ ฯลฯ 0.77%
4. ความในใจของ "คนขายบุหรี่" (สัมภาษณ์ร้านขายบุหรี่จำนวน 137 แห่ง)
4.1 การสำรวจพฤติกรรมการขายบุหรี่
จากการสำรวจในลักษณะการปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่เรียกว่า "Mystery shopper" โดยให้เด็กอายุ 14 - 15 ปี ไปซื้อบุหรี่จากร้านขายบุหรี่ในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล จำนวน 137 แห่ง ผลปรากฎว่าสามารถซื้อบุหรี่ได้ถึง 123 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 89.78
**เป็นประเด็นที่น่าสนใจกรณีกฎหมายห้ามขายบุหรี่ให้กับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
4.2 การสำรวจความในใจของ "คนขายบุหรี่"
จากการสำรวจ ร้านขายบุหรี่ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 201 แห่ง สรุปผลได้ดังนี้
(1) ในร้านที่ขายบุหรี่มีคนสูบบุหรี่หรือไม่ ?
มี95.02%
ไม่มี 4.98%
(2) ความคิดเห็นทั่วไปของคนขายบุหรี่ต่อผู้สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 เป็นเรื่องของแต่ละบุคคล / สิทธิส่วนบุคคล 27.36%
อันดับที่ 2 เป็นการทำลายสุขภาพ 22.39%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องธรรมดา เพราะถูกกฎหมาย 17.91%
อันดับที่ 4 สังคมรังเกียจ 17.41%
อันดับที่ 5 เป็นการคลายเครียด 14.93%
(3) "คนขายบุหรี่" อยากให้ "คนที่เขารัก" เลิกสูบบุหรี่หรือไม่ ?
อยากให้เลิก67.66%
เพราะ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ, รบกวนคนรอบข้าง, สิ้นเปลืองเงินทอง ฯลฯ
ปล่อยตามใจเขา 32.34%
เพราะ เป็นสิทธิส่วนบุคคล, คงจะเลิกยาก ฯลฯ
(4) ความในใจ "คนขายบุหรี่" ที่อยากบอก "คนที่สูบบุหรี่"
อันดับที่ 1 เลิกสูบบุหรี่เสียเถอะเป็นสิ่งไม่ดี/ ทำลายสุขภาพ 59.10%
อันดับที่ 2 เลิกสูบไม่ได้ก็ขอให้สูบน้อยลง 17.07%
อันดับที่ 3 ถ้าจะสูบบุหรี่ควรสูบในสถานที่ที่จัดไว้ 14.63%
* อื่น ๆ เช่น อย่าทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ฯลฯ 9.20%
5. หัวอกคนทำงานรณรงค์เพื่อไม่สูบบุหรี่ (สัมภาษณ์ผู้ทำงานประจำในการรณรงค์ ฯ 12 คน)
5.1 สาเหตุที่มาร่วมทำงานรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 เป็นงานที่ทำเพื่อสังคม/ อุทิศตน, เสียสละ/ ช่วยแก้ปัญหาให้สังคม 37.04%
อันดับที่ 2 รู้อันตราย/ พิษภัยของบุหรี่ 25.93%
อันดับที่ 3 เป็นงานที่ท้าทายความสามารถ 18.52%
อันดับที่ 4 ไม่ชอบบุหรี่/ แพ้บุหรี่ 11.11%
*อื่น ๆ เช่น ไม่อยากให้มีผู้ป่วยที่ทรมานจากพิษภัยบุหรี่เพิ่มมากขึ้น ฯลฯ 7.40%
5.2 อุปสรรคในการทำงานรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
อันดับที่ 1 งบประมาณในการดำเนินงานไม่เพียงพอ 28.57%
อันดับที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับพิษภัยบุหรี่ ยังไม่กระจายไปสู่ผู้บริโภคอย่างทั่วถึง 25.00%
(ทั้งในด้านสื่อ/ พื้นที่โดยเฉพาะต่างจังหวัด, ชุมชนในชนบท)
อันดับที่ 3 โรงงานยาสูบก็ยังผลิตอยู่/ มีการตลาดเชิงรุกที่มีทุนมาก 21.43%
อันดับที่ 4 การรณรงค์ไม่กระจายทั่วถึงเพราะบุคลากรน้อย 14.29%
*อื่น ๆ เช่น บุหรี่ราคาถูกและซื้อได้ง่ายแม้จะมีกฎหมายควบคุมแต่ก็ไม่ปฏิบัติ
อย่างจริงจัง ฯลฯ 10.71%
--สวนดุสิตโพล--