"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพฯและปริมณฑลที่รับรู้ข่าวเกี่ยวกับ "ระเบิดที่หาดใหญ่" โดยต้องการสะท้อนความรู้สึก รวมทั้งระดมความคิดเห็นในการ ป้องกันไม่ให้เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างซ้ำซากอีก โดยสอบถามประชาชน จำนวน 1,844 คน (ชาย 964 คน 52.28% หญิง 880 คน 47.72%) ระหว่างวันที่ 8 - 10 เมษายน 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความรู้สึกของประชาชนต่อ กรณี "ระเบิดที่หาดใหญ่"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เสียใจ/ เศร้า / สะเทือนใจ 47.35% 52.29% 49.82%
อันดับที่ 2 กลัว/ ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 14.77% 12.98% 13.88%
อันดับที่ 3 เป็นการกระทำที่ไร้มนุษยธรรมสมควรแก่การสาปแช่ง/
ลงโทษอย่างหนัก 11.36% 12.59% 11.97%
อันดับที่ 4 เป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลที่ต้องเร่งสืบสวน/
หาทางแก้ไข 13.64% 9.16% 11.40%
อันดับที่ 5 เป็นเรื่องของเกมการเมือง 7.09% 8.02% 7.56%
* อื่น ๆ เช่น เกิดขึ้นบ่อย, เสื่อมเสียชื่อเสียงประเทศ,
ผิดหวังกับการทำงานของเจ้าหน้าที่บ้านเมือง ฯลฯ 5.79% 4.96% 5.37%
ผลกระทบด้านต่าง ๆ กรณี "ระเบิดที่หาดใหญ่" ในทัศนะของประชาชน
อันดับที่ 1 ความมั่นคงของประเทศ /
ภาพพจน์ความน่าเชื่อถือจากต่างประเทศ 27.93% 35.56% 31.75%
อันดับที่ 2 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 28.23% 22.96% 25.59%
อันดับที่ 3 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 18.02% 23.33% 20.68%
อันดับที่ 4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ/ การลงทุนของต่างชาติ 18.32% 14.07% 16.19%
* อื่น ๆ เช่น เสถียรภาพทางการเมือง, การปกครองส่วน
ท้องถิ่น ฯลฯ 7.50% 4.08% 5.79%
3. ความมั่นใจของประชาชนต่อรัฐบาลกรณี การป้องกันและแก้ไขไม่ให้เกิดระเบิดขึ้นอีก
ชาย หญิง ภาพรวม
มั่นใจ 10.68% 15.23% 12.96%
เพราะ การดูแลเอาใจใส่ของรัฐบาลอย่างจริงจัง, ไปถึงสถานที่เกิดเหตุ (นายกฯ)รวดเร็ว ฯลฯ
ค่อนข้างมั่นใจ 38.80% 44.32% 41.56%
เพราะ คิดว่าจะแก้ไขสถานการณ์ได้, มีการกำชับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่แล้ว ฯลฯ
ไม่ค่อยมั่นใจ 40.98% 35.34% 38.16%
เพราะ คงจะไม่สามารถสาวถึงต้นตอได้, ข้าราชการในพื้นที่คงจับตัวไม่ได้เหมือนเคย,
ภาคใต้ไม่ใช่ฐานเสียงของรัฐบาลนี้ ฯลฯ
ไม่มั่นใจ 9.54% 5.11% 7.32%
เพราะ เป็นเรื่องยาก, เกิดมาหลายรัฐบาลแล้ว, แม้แต่ประชาธิปัตย์ยังแก้ไขไม่ได้ ฯลฯ
4. วิธีการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ระเบิดขึ้นอีกในทัศนะของประชาชน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เข้มงวดในเรื่องการรักษาความปลอดภัยให้มากขึ้น 48.83% 66.49% 57.66%
อันดับที่ 2 กวดขันเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกคนให้ปฏิบัติงานเต็มความสามารถ 17.37% 11.35% 14.36%
อันดับที่ 3 มีระบบการตรวจสอบที่เข้มแข็ง/ ใช้เครื่องมือที่ทันสมัย
ตรวจสอบ 14.08% 10.27% 12.18%
อันดับที่ 4 เอาจริงเอาจังในการลงโทษผู้กระทำผิดมิให้เอาเยี่ยงอย่าง 10.80% 6.48% 8.64%
* อื่น ๆ เช่น ลดกระแสความขัดแย้งทางการเมือง, มีการเจรจา ฯลฯ 8.92% 5.41% 7.16%
--สวนดุสิตโพล--
1. ความรู้สึกของประชาชนต่อ กรณี "ระเบิดที่หาดใหญ่"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เสียใจ/ เศร้า / สะเทือนใจ 47.35% 52.29% 49.82%
อันดับที่ 2 กลัว/ ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 14.77% 12.98% 13.88%
อันดับที่ 3 เป็นการกระทำที่ไร้มนุษยธรรมสมควรแก่การสาปแช่ง/
ลงโทษอย่างหนัก 11.36% 12.59% 11.97%
อันดับที่ 4 เป็นความรับผิดชอบของรัฐบาลที่ต้องเร่งสืบสวน/
หาทางแก้ไข 13.64% 9.16% 11.40%
อันดับที่ 5 เป็นเรื่องของเกมการเมือง 7.09% 8.02% 7.56%
* อื่น ๆ เช่น เกิดขึ้นบ่อย, เสื่อมเสียชื่อเสียงประเทศ,
ผิดหวังกับการทำงานของเจ้าหน้าที่บ้านเมือง ฯลฯ 5.79% 4.96% 5.37%
ผลกระทบด้านต่าง ๆ กรณี "ระเบิดที่หาดใหญ่" ในทัศนะของประชาชน
อันดับที่ 1 ความมั่นคงของประเทศ /
ภาพพจน์ความน่าเชื่อถือจากต่างประเทศ 27.93% 35.56% 31.75%
อันดับที่ 2 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 28.23% 22.96% 25.59%
อันดับที่ 3 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 18.02% 23.33% 20.68%
อันดับที่ 4 ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ/ การลงทุนของต่างชาติ 18.32% 14.07% 16.19%
* อื่น ๆ เช่น เสถียรภาพทางการเมือง, การปกครองส่วน
ท้องถิ่น ฯลฯ 7.50% 4.08% 5.79%
3. ความมั่นใจของประชาชนต่อรัฐบาลกรณี การป้องกันและแก้ไขไม่ให้เกิดระเบิดขึ้นอีก
ชาย หญิง ภาพรวม
มั่นใจ 10.68% 15.23% 12.96%
เพราะ การดูแลเอาใจใส่ของรัฐบาลอย่างจริงจัง, ไปถึงสถานที่เกิดเหตุ (นายกฯ)รวดเร็ว ฯลฯ
ค่อนข้างมั่นใจ 38.80% 44.32% 41.56%
เพราะ คิดว่าจะแก้ไขสถานการณ์ได้, มีการกำชับเจ้าหน้าที่ในพื้นที่แล้ว ฯลฯ
ไม่ค่อยมั่นใจ 40.98% 35.34% 38.16%
เพราะ คงจะไม่สามารถสาวถึงต้นตอได้, ข้าราชการในพื้นที่คงจับตัวไม่ได้เหมือนเคย,
ภาคใต้ไม่ใช่ฐานเสียงของรัฐบาลนี้ ฯลฯ
ไม่มั่นใจ 9.54% 5.11% 7.32%
เพราะ เป็นเรื่องยาก, เกิดมาหลายรัฐบาลแล้ว, แม้แต่ประชาธิปัตย์ยังแก้ไขไม่ได้ ฯลฯ
4. วิธีการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ระเบิดขึ้นอีกในทัศนะของประชาชน
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เข้มงวดในเรื่องการรักษาความปลอดภัยให้มากขึ้น 48.83% 66.49% 57.66%
อันดับที่ 2 กวดขันเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทุกคนให้ปฏิบัติงานเต็มความสามารถ 17.37% 11.35% 14.36%
อันดับที่ 3 มีระบบการตรวจสอบที่เข้มแข็ง/ ใช้เครื่องมือที่ทันสมัย
ตรวจสอบ 14.08% 10.27% 12.18%
อันดับที่ 4 เอาจริงเอาจังในการลงโทษผู้กระทำผิดมิให้เอาเยี่ยงอย่าง 10.80% 6.48% 8.64%
* อื่น ๆ เช่น ลดกระแสความขัดแย้งทางการเมือง, มีการเจรจา ฯลฯ 8.92% 5.41% 7.16%
--สวนดุสิตโพล--