จากกรณี “คุณสมบัติผู้สมัคร ส.ว.” ที่กำลังมีการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะกรณีล่าสุดกับการตีความว่า “กรรมการสถาบันราชภัฏ กรรมการสภาประจำสถาบันราชภัฏ กรรมการมหาวิทยาลัย คณะอนุกรรมการข้าราชการตำรวจประจำจังหวัด ถือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 109 (11) ไม่มีสิทธิ์สมัคร ส.ว.” “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของบุคคลที่เกี่ยวข้อง จำนวน 1,169 คน จำแนกดังนี้
- ทนายความ จำนวน 35 คน 2.99%
- ผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย จำนวน 88 คน 7.53%
- อาจารย์ผู้สอนกฎหมาย จำนวน 54 คน 4.62%
- นักศึกษาที่เรียนทางกฎหมาย จำนวน 504 คน 43.11%
- ผู้ที่มีความรู้/ ความเข้าใจทางกฎหมาย จำนวน 488 คน 41.75%
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 11 | 13 มกราคม 2543 สรุปได้ดังนี้
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย กับการตัดสิทธิ์บุคคลดังกล่าว 54.52%
เพราะ อันดับที่ 1 ควรเปิดโอกาสให้ได้แสดงความรู้ความสามารถเพราะเป็นบุคคลที่มีความรู้ 32.11%
อันดับที่ 2 ไม่ได้อยู่ในสายบังคับบัญชาของข้าราชการพลเรือน หรือไม่ได้มีอำนาจในราชการ 24.09%
อันดับที่ 3 เป็นการจำกัดสิทธิ์ส่วนบุคคลมากเกินไป/ ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 22.63%
อันดับที่ 4 ผู้เลือกมีวิจารณญาณในการเลือกอยู่แล้ว/ จะต้องเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถ
อยู่แล้ว 12.41%
อันดับที่ 5 ลักษณะงานคล้ายคลึงกัน/ เป็นผู้รู้ปัญหาของประเทศควรให้การสนับสนุน 8.76%
อันดับที่ 2 เห็นด้วย กับการตัดสิทธิ์บุคคลดังกล่าว 45.48%
เพราะ อันดับที่ 1 มีความเป็นกลางไม่ขึ้นตรงกับองค์กรใด ๆ ทั้งสิ้น 54.24%
อันดับที่ 2 เป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในสถาบันที่เป็นของรัฐอยู่แล้ว / ไม่ควรมีสิทธิ์ได้รับเลือก 23.73%
อันดับที่ 3 ไม่ควรมีหน้าที่รับผิดชอบหลายตำแหน่งทำให้การทำงานจะออกมาไม่ดีเท่าที่ควร 16.95%
* อื่น ๆ เช่น ควรให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถโดยตรงมาบริหารงานมากกว่า ฯลฯ 5.08%
--สวนดุสิตโพล--
- ทนายความ จำนวน 35 คน 2.99%
- ผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย จำนวน 88 คน 7.53%
- อาจารย์ผู้สอนกฎหมาย จำนวน 54 คน 4.62%
- นักศึกษาที่เรียนทางกฎหมาย จำนวน 504 คน 43.11%
- ผู้ที่มีความรู้/ ความเข้าใจทางกฎหมาย จำนวน 488 คน 41.75%
โดยสำรวจระหว่างวันที่ 11 | 13 มกราคม 2543 สรุปได้ดังนี้
อันดับที่ 1 ไม่เห็นด้วย กับการตัดสิทธิ์บุคคลดังกล่าว 54.52%
เพราะ อันดับที่ 1 ควรเปิดโอกาสให้ได้แสดงความรู้ความสามารถเพราะเป็นบุคคลที่มีความรู้ 32.11%
อันดับที่ 2 ไม่ได้อยู่ในสายบังคับบัญชาของข้าราชการพลเรือน หรือไม่ได้มีอำนาจในราชการ 24.09%
อันดับที่ 3 เป็นการจำกัดสิทธิ์ส่วนบุคคลมากเกินไป/ ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ 22.63%
อันดับที่ 4 ผู้เลือกมีวิจารณญาณในการเลือกอยู่แล้ว/ จะต้องเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถ
อยู่แล้ว 12.41%
อันดับที่ 5 ลักษณะงานคล้ายคลึงกัน/ เป็นผู้รู้ปัญหาของประเทศควรให้การสนับสนุน 8.76%
อันดับที่ 2 เห็นด้วย กับการตัดสิทธิ์บุคคลดังกล่าว 45.48%
เพราะ อันดับที่ 1 มีความเป็นกลางไม่ขึ้นตรงกับองค์กรใด ๆ ทั้งสิ้น 54.24%
อันดับที่ 2 เป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในสถาบันที่เป็นของรัฐอยู่แล้ว / ไม่ควรมีสิทธิ์ได้รับเลือก 23.73%
อันดับที่ 3 ไม่ควรมีหน้าที่รับผิดชอบหลายตำแหน่งทำให้การทำงานจะออกมาไม่ดีเท่าที่ควร 16.95%
* อื่น ๆ เช่น ควรให้ผู้ที่มีความรู้ความสามารถโดยตรงมาบริหารงานมากกว่า ฯลฯ 5.08%
--สวนดุสิตโพล--