จากกรณีที่มีการประท้วงโดย “ราดอึ" ของผู้ที่ใช้บริการธนาคารออมสินที่สูญเงินไปกับ
การแนะนำ / ชักชวนให้ไปลงทุนใน “กองทุน” ของธนาคารออมสิน และได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์
อยู่ในขณะนี้ เพื่อสะท้อนความคิดเห็น และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว “สวนดุสิตโพล”
สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล จำนวน 1,047 คน ระหว่างวันที่ 24 | 25 สิงหาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผลกระทบที่ส่งผลต่อประชาชน กรณี ข่าวการสูญเสียเงิน “กองทุน” โดยประท้วง
ธนาคารออมสิน
มีผลกระทบ 1.12%
คือ ทำให้ขาดความไว้วางใจ/ความน่าเชื่อถือ, ภาพพจน์ธนาคารไม่ดี ฯลฯ
ไม่มีผลกระทบ 76.40%
เพราะ สามารถฝาก/ถอนเงินได้ตามปกติ,เป็นผู้ฝากรายย่อย,ไม่ได้ร่วมลงทุนด้วย ฯลฯ
2. ประชาชนคิดว่า จาก ข่าวการสูญเสียเงิน “กองทุน” โดยประท้วงธนาคารออมสิน มีผลต่อ
ธนาคารใด
กระทบต่อธนาคารออมสินเท่านั้น 39.77%
เพราะ ขาดความเชื่อมั่นที่มีต่อธนาคาร,การทำผิดข้อตกลง, เป็นความรับผิดชอบของธนาคารออมสินฯลฯ
กระทบทุกธนาคาร 60.23%
เพราะ ขาดความเชื่อมั่นที่มีต่อธนาคาร,รูปแบบการบริหารจัดการมีลักษณะคล้ายกัน ฯลฯ
3. “ทางออก” กรณี การประท้วงธนาคารออมสิน
อันดับที่ 1 ชี้แจงให้กับผู้ใช้บริการเข้าใจตรงกัน/ อธิบายข้อมูลให้ชัดเจน 37.93%
อันดับที่ 2 รัฐควรมีการควบคุมในการให้บริการของธนาคาร 27.59%
อันดับที่ 3 การทำงานควรมีความโปร่งใสมากกว่านี้ 13.79%
อันดับที่ 3 ควรมีการตรวจสอบข้อมูล/หลักฐานทั้งหมด 13.79%
อันดับที่ 5 ให้ผู้มีความรู้เป็นตัวแทนในการเจรจา 6.90%
4. “บทเรียนสำคัญที่ควรจดจำ / ป้องกัน” ในกรณี การประท้วงธนาคารออมสิน
อันดับที่ 1 ตรวจสอบข้อมูล/ หาข้อมูลให้ละเอียดก่อนลงทุน 36.36%
อันดับที่ 2 รัฐบาลและผู้บริหารระดับสูงควรพิจารณาให้รอบคอบ 24.24%
อันดับที่ 3 ควรมีการแจ้งข่าว/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลกับผู้ลงทุนอย่างสม่ำเสมอ 21.21%
อันดับที่ 4 ควรมีการชี้แจงเงื่อนไขรายละเอียดการลงทุน 9.09%
อันดับที่ 4 จัดให้มีพนักงานให้ความรู้ในเรื่องการลงทุนโดยเฉพาะ 9.09%
--สวนดุสิตโพล--
การแนะนำ / ชักชวนให้ไปลงทุนใน “กองทุน” ของธนาคารออมสิน และได้มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์
อยู่ในขณะนี้ เพื่อสะท้อนความคิดเห็น และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว “สวนดุสิตโพล”
สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล จำนวน 1,047 คน ระหว่างวันที่ 24 | 25 สิงหาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ผลกระทบที่ส่งผลต่อประชาชน กรณี ข่าวการสูญเสียเงิน “กองทุน” โดยประท้วง
ธนาคารออมสิน
มีผลกระทบ 1.12%
คือ ทำให้ขาดความไว้วางใจ/ความน่าเชื่อถือ, ภาพพจน์ธนาคารไม่ดี ฯลฯ
ไม่มีผลกระทบ 76.40%
เพราะ สามารถฝาก/ถอนเงินได้ตามปกติ,เป็นผู้ฝากรายย่อย,ไม่ได้ร่วมลงทุนด้วย ฯลฯ
2. ประชาชนคิดว่า จาก ข่าวการสูญเสียเงิน “กองทุน” โดยประท้วงธนาคารออมสิน มีผลต่อ
ธนาคารใด
กระทบต่อธนาคารออมสินเท่านั้น 39.77%
เพราะ ขาดความเชื่อมั่นที่มีต่อธนาคาร,การทำผิดข้อตกลง, เป็นความรับผิดชอบของธนาคารออมสินฯลฯ
กระทบทุกธนาคาร 60.23%
เพราะ ขาดความเชื่อมั่นที่มีต่อธนาคาร,รูปแบบการบริหารจัดการมีลักษณะคล้ายกัน ฯลฯ
3. “ทางออก” กรณี การประท้วงธนาคารออมสิน
อันดับที่ 1 ชี้แจงให้กับผู้ใช้บริการเข้าใจตรงกัน/ อธิบายข้อมูลให้ชัดเจน 37.93%
อันดับที่ 2 รัฐควรมีการควบคุมในการให้บริการของธนาคาร 27.59%
อันดับที่ 3 การทำงานควรมีความโปร่งใสมากกว่านี้ 13.79%
อันดับที่ 3 ควรมีการตรวจสอบข้อมูล/หลักฐานทั้งหมด 13.79%
อันดับที่ 5 ให้ผู้มีความรู้เป็นตัวแทนในการเจรจา 6.90%
4. “บทเรียนสำคัญที่ควรจดจำ / ป้องกัน” ในกรณี การประท้วงธนาคารออมสิน
อันดับที่ 1 ตรวจสอบข้อมูล/ หาข้อมูลให้ละเอียดก่อนลงทุน 36.36%
อันดับที่ 2 รัฐบาลและผู้บริหารระดับสูงควรพิจารณาให้รอบคอบ 24.24%
อันดับที่ 3 ควรมีการแจ้งข่าว/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลกับผู้ลงทุนอย่างสม่ำเสมอ 21.21%
อันดับที่ 4 ควรมีการชี้แจงเงื่อนไขรายละเอียดการลงทุน 9.09%
อันดับที่ 4 จัดให้มีพนักงานให้ความรู้ในเรื่องการลงทุนโดยเฉพาะ 9.09%
--สวนดุสิตโพล--