"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้เจาะลึกความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงที่สนใจการลาออกของ
รมว.ศึกษาฯ ทั้ง "ครู/อาจารย์" "ข้าราชการในกระทรวง" และ "สื่อมวลชน" ในกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณี : การ
ลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) โดยสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,145 คน (ครู/อาจารย์ 657
คน 57.38% ข้าราชการที่ทำงานในกระทรวงศธ. 463 คน 40.44% และสื่อมวลชน จำนวน 25 คน 2.18%) สำรวจใน
วันที่ 11 มิถุนายน 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "เหตุผลลึก ๆ" ที่ รมว. ศึกษาฯ (นพ.เกษม) ลาออก ในทัศนะของ "ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง"
"เหตุผลลึก ๆ" ที่ รมว. เกษม ลาออก ในทัศนะของ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
"ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง" ในกระทรวง
อันดับที่ 1 เกิดความขัดแย้งทางการเมือง / นักการเมือง 40.63% 26.32% 44.00% 36.98%
อันดับที่ 2 มีการเมืองเข้าแทรกแซง 21.87% 10.96% 32.00% 21.61%
อันดับที่ 3 เกิดความขัดแย้งขึ้นภายในพรรคไทยรักไทย 18.75% 12.28% 12.00% 14.34%
อันดับที่ 4 เกิดความขัดแย้งในการปฏิรูปการศึกษา 18.75% 23.68% - 14.14%
อันดับที่ 5 มีแรงกดดันจากกลุ่มผู้เสียอำนาจ/ นักการเมือง - 17.54% 8.00% 8.51%
* อื่น ๆ เช่น ขาดอิสระในการตัดสินใจ/การทำงาน, สุขภาพไม่ดี ฯลฯ - 9.22% 4.00% 4.42%
2. คุณสมบัติที่เหมาะสมของ "รมว. ศึกษาฯ" คนใหม่
คุณสมบัติที่เหมาะสมของ "รมว. ศึกษาฯ" คนใหม่ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจระบบการศึกษาและรู้เรื่องการ 48.39% 41.71% 53.33% 47.81%
ปฎิรูปการศึกษา
อันดับที่ 2 มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล/มองการณ์ไกล/ เป็นนักการศึกษา 32.26% 16.85% 16.67% 21.93%
อันดับที่ 3 มีความเป็นตัวของตัวเอง/ หนักแน่น/ อดทนสูง 6.45% 11.60% 16.67% 11.57%
อันดับที่ 4 กล้าคิด กล้าทำในสิ่งที่ถูกต้อง/ เป็นคนเก่ง /คนดี 12.90% 8.29% 13.33% 11.51%
* อื่น ๆ เช่น ซื่อสัตย์สุจริต,ทำงานเพื่อการศึกษา,รับฟังความคิดเห็น - 21.55% - 7.18%
ของผู้อื่น ฯลฯ
3. สาเหตุที่ทำให้การปฏิรูปการศึกษา ประสบความสำเร็จได้ยาก
สาเหตุที่ทำให้การปฏิรูปการศึกษา ประสบความสำเร็จได้ยาก ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 ต้องทำอย่างเป็นระบบ/ ดำเนินการที่ละขั้นตอน 44.44% 9.16% 23.33% 25.34%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารยังยึดติดกับอำนาจ/ ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง 12.78% 30.68% 16.68% 20.05%
อันดับที่ 3 การไม่ลงรอยกัน/ มีความขัดแย้งกัน 9.36% 22.31% 23.33% 18.33%
อันดับที่ 4 การไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิรูปการศึกษา 6.68% 13.15% 13.33% 11.05%
อันดับที่ 5 มีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง 8.24% 19.12% - 9.12%
* อื่น ๆ เช่น เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ย่อมมีปัญหา, มีความซ้ำ 18.50% 5.88% 23.33% 15.81%
ซ้อนทางองค์กร ฯลฯ
4. บทเรียนของ รัฐบาลสร้าง ในการลาออกของ รมว.ศึกษาฯ ครั้งนี้ คือ
บทเรียนของ รัฐบาลสร้าง ในการลาออกของ รมว.ศึกษาฯ ครั้งนี้ คือ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 ไม่ควรเอาการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับการศึกษามากนัก 40.43% 16.13% 50.00% 36.19%
อันดับที่ 2 ควรหาคนที่เหมาะสมทางด้านการปฏิรูปการศึกษาโดยตรง 27.27% 28.49% 12.50% 22.75%
อันดับที่ 3 รัฐควรให้ความสำคัญกับการปฏิรูปการศึกษามากกว่านี้ 21.21% 15.05% 17.19% 17.82%
อันดับที่ 4 ไม่ควรสร้างความขัดแย้งเพราะการศึกษาเป็นเรื่องใหญ่ 9.09% 17.74% 7.81% 15.55%
* อื่น ๆ เช่น ไม่ควรเล่นพรรคเล่นพวก,ควรเชื่อมั่นในคนทำงาน ฯลฯ 2.00% 22.59% 12.50% 7.69%
5. ผู้ที่เคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประทับใจ และชื่นชอบมากที่สุด
ผู้ที่เคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประทับใจ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
และชื่นชอบมากที่สุด ในกระทรวง
อันดับที่ 1 นพ.เกษม วัฒนชัย 37.93% 26.27% 36.84% 33.68%
อันดับที่ 2 นายชุมพล ศิลปอาชา 13.79% 25.88% 31.58% 23.75%
อันดับที่ 3 นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล 20.69% 11.76% 21.05% 17.83%
อันดับที่ 4 ดร. ก่อ สวัสดิพานิชย์ 10.35% 20.79% 10.53% 13.89%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
รมว.ศึกษาฯ ทั้ง "ครู/อาจารย์" "ข้าราชการในกระทรวง" และ "สื่อมวลชน" ในกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณี : การ
ลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) โดยสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,145 คน (ครู/อาจารย์ 657
คน 57.38% ข้าราชการที่ทำงานในกระทรวงศธ. 463 คน 40.44% และสื่อมวลชน จำนวน 25 คน 2.18%) สำรวจใน
วันที่ 11 มิถุนายน 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "เหตุผลลึก ๆ" ที่ รมว. ศึกษาฯ (นพ.เกษม) ลาออก ในทัศนะของ "ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง"
"เหตุผลลึก ๆ" ที่ รมว. เกษม ลาออก ในทัศนะของ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
"ผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง" ในกระทรวง
อันดับที่ 1 เกิดความขัดแย้งทางการเมือง / นักการเมือง 40.63% 26.32% 44.00% 36.98%
อันดับที่ 2 มีการเมืองเข้าแทรกแซง 21.87% 10.96% 32.00% 21.61%
อันดับที่ 3 เกิดความขัดแย้งขึ้นภายในพรรคไทยรักไทย 18.75% 12.28% 12.00% 14.34%
อันดับที่ 4 เกิดความขัดแย้งในการปฏิรูปการศึกษา 18.75% 23.68% - 14.14%
อันดับที่ 5 มีแรงกดดันจากกลุ่มผู้เสียอำนาจ/ นักการเมือง - 17.54% 8.00% 8.51%
* อื่น ๆ เช่น ขาดอิสระในการตัดสินใจ/การทำงาน, สุขภาพไม่ดี ฯลฯ - 9.22% 4.00% 4.42%
2. คุณสมบัติที่เหมาะสมของ "รมว. ศึกษาฯ" คนใหม่
คุณสมบัติที่เหมาะสมของ "รมว. ศึกษาฯ" คนใหม่ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 มีความรู้ความเข้าใจระบบการศึกษาและรู้เรื่องการ 48.39% 41.71% 53.33% 47.81%
ปฎิรูปการศึกษา
อันดับที่ 2 มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล/มองการณ์ไกล/ เป็นนักการศึกษา 32.26% 16.85% 16.67% 21.93%
อันดับที่ 3 มีความเป็นตัวของตัวเอง/ หนักแน่น/ อดทนสูง 6.45% 11.60% 16.67% 11.57%
อันดับที่ 4 กล้าคิด กล้าทำในสิ่งที่ถูกต้อง/ เป็นคนเก่ง /คนดี 12.90% 8.29% 13.33% 11.51%
* อื่น ๆ เช่น ซื่อสัตย์สุจริต,ทำงานเพื่อการศึกษา,รับฟังความคิดเห็น - 21.55% - 7.18%
ของผู้อื่น ฯลฯ
3. สาเหตุที่ทำให้การปฏิรูปการศึกษา ประสบความสำเร็จได้ยาก
สาเหตุที่ทำให้การปฏิรูปการศึกษา ประสบความสำเร็จได้ยาก ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 ต้องทำอย่างเป็นระบบ/ ดำเนินการที่ละขั้นตอน 44.44% 9.16% 23.33% 25.34%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารยังยึดติดกับอำนาจ/ ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง 12.78% 30.68% 16.68% 20.05%
อันดับที่ 3 การไม่ลงรอยกัน/ มีความขัดแย้งกัน 9.36% 22.31% 23.33% 18.33%
อันดับที่ 4 การไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิรูปการศึกษา 6.68% 13.15% 13.33% 11.05%
อันดับที่ 5 มีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง 8.24% 19.12% - 9.12%
* อื่น ๆ เช่น เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ย่อมมีปัญหา, มีความซ้ำ 18.50% 5.88% 23.33% 15.81%
ซ้อนทางองค์กร ฯลฯ
4. บทเรียนของ รัฐบาลสร้าง ในการลาออกของ รมว.ศึกษาฯ ครั้งนี้ คือ
บทเรียนของ รัฐบาลสร้าง ในการลาออกของ รมว.ศึกษาฯ ครั้งนี้ คือ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
ในกระทรวง
อันดับที่ 1 ไม่ควรเอาการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับการศึกษามากนัก 40.43% 16.13% 50.00% 36.19%
อันดับที่ 2 ควรหาคนที่เหมาะสมทางด้านการปฏิรูปการศึกษาโดยตรง 27.27% 28.49% 12.50% 22.75%
อันดับที่ 3 รัฐควรให้ความสำคัญกับการปฏิรูปการศึกษามากกว่านี้ 21.21% 15.05% 17.19% 17.82%
อันดับที่ 4 ไม่ควรสร้างความขัดแย้งเพราะการศึกษาเป็นเรื่องใหญ่ 9.09% 17.74% 7.81% 15.55%
* อื่น ๆ เช่น ไม่ควรเล่นพรรคเล่นพวก,ควรเชื่อมั่นในคนทำงาน ฯลฯ 2.00% 22.59% 12.50% 7.69%
5. ผู้ที่เคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประทับใจ และชื่นชอบมากที่สุด
ผู้ที่เคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประทับใจ ครู/อาจารย์ ข้าราชการ สื่อมวลชน ภาพรวม
และชื่นชอบมากที่สุด ในกระทรวง
อันดับที่ 1 นพ.เกษม วัฒนชัย 37.93% 26.27% 36.84% 33.68%
อันดับที่ 2 นายชุมพล ศิลปอาชา 13.79% 25.88% 31.58% 23.75%
อันดับที่ 3 นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล 20.69% 11.76% 21.05% 17.83%
อันดับที่ 4 ดร. ก่อ สวัสดิพานิชย์ 10.35% 20.79% 10.53% 13.89%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--