กรณี "การแขวนชื่อว่าที่ ส.ว." ได้เป็นกระแสที่มีการวิพากษ์วิจารณ์กันมากว่า 2 สัปดาห์ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศ 15 จังหวัด (กรุงเทพฯ, เชียงใหม่, พิษณุโลก, นครสวรรค์, อยุธยา, สระบุรี, ขอนแก่น, เลย, นครราชสีมา, อุบลราชธานี, สุพรรณบุรี, ราชบุรี, เพชรบุรี, สงขลา และตรัง) จำนวนทั้งสิ้น 5,535 คน ระหว่างวันที่ 8 - 18 มีนาคม 2543 สรุปได้ดังนี้
1. "แขวนชื่อว่าที่ ส.ว." แบบใด ? จึงจะถูกใจประชาชน
อันดับที่ 1 ว่าที่ ส.ว. ที่ทำผิดกฎหมายเลือกตั้งโดยมีหลักฐานชัดเจน 33.08%
อันดับที่ 2 ซื้อเสียง/ แจกสิ่งของ/ ใช้การจูงใจโดยมีหลักฐาน 31.49%
อันดับที่ 3 คนไม่ดี/ ใช้อิทธิพล/ มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม 18.99%
อันดับที่ 4 เป็นคนของพรรคการเมือง/ นักการเมืองที่ช่วยหาเสียงเข้ามา 15.03%
* อื่น ๆ เช่น เป็นคนที่ไม่เป็นกลาง, ไม่ยุติธรรม ฯลฯ 1.41%
2. "ความเป็นธรรม" แบบใด ? ที่ กกต. ควรให้กับว่าที่ ส.ว. ที่ถูกแขวนชื่อ
อันดับที่ 1 กกต. อย่าเลือกปฏิบัติ/ ว่าที่ ส.ว.ทุกคน กกต. ต้องตรวจสอบโดยปฏิบัติต่อว่าที่ ส.ว.
ทุกคนอย่างเสมอภาค 40.40%
อันดับที่ 2 จะต้องโปร่งใส สามารถชี้แจงเหตุผลที่ กกต. แขวนชื่อได้อย่างชัดเจน 32.76%
อันดับที่ 3 กกต. จะต้องไม่หลงอำนาจ/ ไม่เล่นพวก/ ไม่กลั่นแกล้ง 10.10%
อันดับที่ 4 กกต. จะต้องยึดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 8.27%
อันดับที่ 5 กกต. จะต้องรับฟังคำชี้แจงจากว่าที่ ส.ว. ที่ถูกแขวนชื่อด้วยใจเป็นธรรม/ ให้โอกาส
ชี้แจงอย่างทั่วถึง 6.72%
* อื่น ๆ เช่น ต้องฟังเสียงจากประชาชน, อย่ายึดเพียงหลักฐานทางกฎหมายอย่างเดียว
พิจารณาความรู้สึกของประชาชนด้วย ฯลฯ 1.75%
3. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ ? กับการเลือก ส.ว. ซ่อมเมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ต้องใช้จ่ายในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน
? เห็นด้วย 73.35 %
เพราะ การปฏิรูปการเมืองให้โปร่งใสต้องลงทุน, เสียเงินครั้งนี้ผลที่ได้จะทำให้การเมืองดีขึ้น, เห็นด้วย
แต่ควรปรับเงินจากผู้ที่ถูกแขวนชื่อว่าที่ ส.ว. เพราะเป็นฝ่ายทำผิด ฯลฯ
? ไม่เห็นด้วย 6.79 %
เพราะ สิ้นเปลืองงบประมาณ, เลือกอีกก็โกงกันอีก, ควรเลื่อนอันดับล่างขึ้นมา ฯลฯ
? เฉย ๆ (เลือกก็ได้/ ไม่เลือกก็ได้) 19.86 %
เพราะ เลือกกี่ครั้งก็ยังมีการซื้อเสียงกันอยู่, ได้ใครเข้ามาก็ไม่ได้ทำให้ดีขึ้น ฯลฯ
4. เลือกซ่อม ส.ว. ใหม่อย่างไร ? ในสายตาประชาชนจึงจะ "ไม่ต้องเลือกซ่อมใหม่อีก"
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันอย่าปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ กกต. แต่ฝ่ายเดียว 39.62%
อันดับที่ 2 ต้องป้องกันการซื้อเสียงอย่างจริงจัง 35.14%
อันดับที่ 3 ลงโทษผู้สมัครที่ซื้อเสียงอย่างจริงจังโดยเฉพาะต้องปรับค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งซ่อม
จากผู้สมัครที่ซื้อเสียง 9.34%
อันดับที่ 4 ต้องประชาสัมพันธ์ "จุดอ่อน" หรือ "ข้อบกพร่อง" ของการเลือกตั้ง ส.ว. ครั้งที่ผ่านมา
ให้ประชาชนได้รับรู้ และใช้เป็นบทเรียน 7.43%
อันดับที่ 5 กกต. ต้องหาวิธีการ/ จัดการให้การเลือกซ่อมไม่มีข้อบกพร่อง/ ถ้ามีข้อบกพร่องอีก
กกต. จะต้องพิจารณาตนเอง 6.65%
* อื่น ๆ เช่น คงเหมือนเดิมมีทั้งซื้อเสียง และทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง/ เบื่อ/ การเมือง
ไทยก็เป็นแบบนี้/ ไม่อยากหวัง ฯลฯ 1.82%
--สวนดุสิตโพล--
1. "แขวนชื่อว่าที่ ส.ว." แบบใด ? จึงจะถูกใจประชาชน
อันดับที่ 1 ว่าที่ ส.ว. ที่ทำผิดกฎหมายเลือกตั้งโดยมีหลักฐานชัดเจน 33.08%
อันดับที่ 2 ซื้อเสียง/ แจกสิ่งของ/ ใช้การจูงใจโดยมีหลักฐาน 31.49%
อันดับที่ 3 คนไม่ดี/ ใช้อิทธิพล/ มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม 18.99%
อันดับที่ 4 เป็นคนของพรรคการเมือง/ นักการเมืองที่ช่วยหาเสียงเข้ามา 15.03%
* อื่น ๆ เช่น เป็นคนที่ไม่เป็นกลาง, ไม่ยุติธรรม ฯลฯ 1.41%
2. "ความเป็นธรรม" แบบใด ? ที่ กกต. ควรให้กับว่าที่ ส.ว. ที่ถูกแขวนชื่อ
อันดับที่ 1 กกต. อย่าเลือกปฏิบัติ/ ว่าที่ ส.ว.ทุกคน กกต. ต้องตรวจสอบโดยปฏิบัติต่อว่าที่ ส.ว.
ทุกคนอย่างเสมอภาค 40.40%
อันดับที่ 2 จะต้องโปร่งใส สามารถชี้แจงเหตุผลที่ กกต. แขวนชื่อได้อย่างชัดเจน 32.76%
อันดับที่ 3 กกต. จะต้องไม่หลงอำนาจ/ ไม่เล่นพวก/ ไม่กลั่นแกล้ง 10.10%
อันดับที่ 4 กกต. จะต้องยึดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 8.27%
อันดับที่ 5 กกต. จะต้องรับฟังคำชี้แจงจากว่าที่ ส.ว. ที่ถูกแขวนชื่อด้วยใจเป็นธรรม/ ให้โอกาส
ชี้แจงอย่างทั่วถึง 6.72%
* อื่น ๆ เช่น ต้องฟังเสียงจากประชาชน, อย่ายึดเพียงหลักฐานทางกฎหมายอย่างเดียว
พิจารณาความรู้สึกของประชาชนด้วย ฯลฯ 1.75%
3. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ ? กับการเลือก ส.ว. ซ่อมเมื่อเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ต้องใช้จ่ายในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน
? เห็นด้วย 73.35 %
เพราะ การปฏิรูปการเมืองให้โปร่งใสต้องลงทุน, เสียเงินครั้งนี้ผลที่ได้จะทำให้การเมืองดีขึ้น, เห็นด้วย
แต่ควรปรับเงินจากผู้ที่ถูกแขวนชื่อว่าที่ ส.ว. เพราะเป็นฝ่ายทำผิด ฯลฯ
? ไม่เห็นด้วย 6.79 %
เพราะ สิ้นเปลืองงบประมาณ, เลือกอีกก็โกงกันอีก, ควรเลื่อนอันดับล่างขึ้นมา ฯลฯ
? เฉย ๆ (เลือกก็ได้/ ไม่เลือกก็ได้) 19.86 %
เพราะ เลือกกี่ครั้งก็ยังมีการซื้อเสียงกันอยู่, ได้ใครเข้ามาก็ไม่ได้ทำให้ดีขึ้น ฯลฯ
4. เลือกซ่อม ส.ว. ใหม่อย่างไร ? ในสายตาประชาชนจึงจะ "ไม่ต้องเลือกซ่อมใหม่อีก"
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันอย่าปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ กกต. แต่ฝ่ายเดียว 39.62%
อันดับที่ 2 ต้องป้องกันการซื้อเสียงอย่างจริงจัง 35.14%
อันดับที่ 3 ลงโทษผู้สมัครที่ซื้อเสียงอย่างจริงจังโดยเฉพาะต้องปรับค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งซ่อม
จากผู้สมัครที่ซื้อเสียง 9.34%
อันดับที่ 4 ต้องประชาสัมพันธ์ "จุดอ่อน" หรือ "ข้อบกพร่อง" ของการเลือกตั้ง ส.ว. ครั้งที่ผ่านมา
ให้ประชาชนได้รับรู้ และใช้เป็นบทเรียน 7.43%
อันดับที่ 5 กกต. ต้องหาวิธีการ/ จัดการให้การเลือกซ่อมไม่มีข้อบกพร่อง/ ถ้ามีข้อบกพร่องอีก
กกต. จะต้องพิจารณาตนเอง 6.65%
* อื่น ๆ เช่น คงเหมือนเดิมมีทั้งซื้อเสียง และทำผิดกฎหมายเลือกตั้ง/ เบื่อ/ การเมือง
ไทยก็เป็นแบบนี้/ ไม่อยากหวัง ฯลฯ 1.82%
--สวนดุสิตโพล--