การตรวจปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติดในนักศึกษาที่ผ่านการเอ็นทรานซ์ และเป็นกระแสวิพากษ์วิจารณ์กันมากในวง
การศึกษาอยู่ขณะนี้ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งสิ้น 2,312 คน
(นักศึกษาอุดมศึกษา 847 คน 36.64% นักเรียน ม.4-ม.6 647 คน 27.98% อาจารย์อุดมศึกษา 327 คน 14.14%
ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานระดับอุดมศึกษา 491 คน 21.24%) ระหว่างวันที่ 2 - 4 ตุลาคม 2544 สรุปผลการสำรวจได้ดังนี้
1.ความคิดเห็นต่อการทึ่ที่ะตรวจปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติดในนักศึกษาที่ผ่านเอ็นทรานซ์
น.ศ.อุดมศึกษา นร. อาจารย์อุดมศึกษา ผู้ปกครอง ภาพรวม
ม.4 - ม.6
เห็นด้วย 66.91% 78.98% 54.55% 77.94% 69.60%
เพราะ เป็นการลดปัญหาและแก้ปัญหายาเสพติด, ป้องกันผู้ติดยาเสพติดเข้าสถาบันการศึกษา ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย 16.91% 6.34% 39.39% 7.35% 17.49%
เพราะ เป็นเรื่องส่วนตัว,ไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ,ไม่สามารถควบคุมได้,เป็นการตัดโอกาสเด็ก ฯลฯ
เฉย ๆ 16.18% 14.68% 6.06% 14.71% 12.91%
เพราะ มีทั้งข้อดีข้อเสีย, ไม่สามารถตรวจสอบได้, ไม่ใช่การแก้ปัญหาที่แท้จริง, ตรวจแล้วไม่เกิดประโยชน์ ฯลฯ
1. วิธีการป้องกัน / แก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติดของนักศึกษา ควรทำดังนี้
น.ศ.อุดมศึกษา นร. อาจารย์อุดมศึกษา ผู้ปกครอง ภาพรวม
ม.4 - ม.6
อันดับที่ 1 เริ่มต้นที่สถาบันครอบครัว/ให้ความรัก 22.11% 22.92% 34.15% 38.72% 29.47%
ความอบอุ่นแก่ครอบครัว
อันดับที่ 2 ปลูกจิตสำนึก/สร้างค่านิยม/รณรงค์ 31.73% 25.00% 21.95% 16.13% 23.70%
เรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด
อันดับที่ 3 สถาบันการศึกษาควรเข้มงวดกับนักศึกษา 9.61% 27.08% 7.32% 19.35% 15.85%
และให้มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ
อันดับที่ 4 ควรแก้ไขกฎหมายให้รัดกุม/ มีมาตรการ 26.93% 8.33% 12.19% 9.68% 14.28%
ที่เคร่งครัดและรัดกุม
อันดับที่ 5 ควรจัดกิจกรรมให้มากขึ้น/ อบรมให้ความรู้ 4.81% 6.25% 19.51% 8.06% 9.66%
* อื่น ๆ ให้คำปรึกษา,ปราบปรามแหล่งผลิต,การเลือก 4.81% 10.42% 4.88% 8.06% 7.04%
คบเพื่อน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
การศึกษาอยู่ขณะนี้ "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งสิ้น 2,312 คน
(นักศึกษาอุดมศึกษา 847 คน 36.64% นักเรียน ม.4-ม.6 647 คน 27.98% อาจารย์อุดมศึกษา 327 คน 14.14%
ผู้ปกครองที่มีบุตรหลานระดับอุดมศึกษา 491 คน 21.24%) ระหว่างวันที่ 2 - 4 ตุลาคม 2544 สรุปผลการสำรวจได้ดังนี้
1.ความคิดเห็นต่อการทึ่ที่ะตรวจปัสสาวะเพื่อหาสารเสพติดในนักศึกษาที่ผ่านเอ็นทรานซ์
น.ศ.อุดมศึกษา นร. อาจารย์อุดมศึกษา ผู้ปกครอง ภาพรวม
ม.4 - ม.6
เห็นด้วย 66.91% 78.98% 54.55% 77.94% 69.60%
เพราะ เป็นการลดปัญหาและแก้ปัญหายาเสพติด, ป้องกันผู้ติดยาเสพติดเข้าสถาบันการศึกษา ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย 16.91% 6.34% 39.39% 7.35% 17.49%
เพราะ เป็นเรื่องส่วนตัว,ไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ,ไม่สามารถควบคุมได้,เป็นการตัดโอกาสเด็ก ฯลฯ
เฉย ๆ 16.18% 14.68% 6.06% 14.71% 12.91%
เพราะ มีทั้งข้อดีข้อเสีย, ไม่สามารถตรวจสอบได้, ไม่ใช่การแก้ปัญหาที่แท้จริง, ตรวจแล้วไม่เกิดประโยชน์ ฯลฯ
1. วิธีการป้องกัน / แก้ไขปัญหาการใช้สารเสพติดของนักศึกษา ควรทำดังนี้
น.ศ.อุดมศึกษา นร. อาจารย์อุดมศึกษา ผู้ปกครอง ภาพรวม
ม.4 - ม.6
อันดับที่ 1 เริ่มต้นที่สถาบันครอบครัว/ให้ความรัก 22.11% 22.92% 34.15% 38.72% 29.47%
ความอบอุ่นแก่ครอบครัว
อันดับที่ 2 ปลูกจิตสำนึก/สร้างค่านิยม/รณรงค์ 31.73% 25.00% 21.95% 16.13% 23.70%
เรื่องโทษและพิษภัยของยาเสพติด
อันดับที่ 3 สถาบันการศึกษาควรเข้มงวดกับนักศึกษา 9.61% 27.08% 7.32% 19.35% 15.85%
และให้มีการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ
อันดับที่ 4 ควรแก้ไขกฎหมายให้รัดกุม/ มีมาตรการ 26.93% 8.33% 12.19% 9.68% 14.28%
ที่เคร่งครัดและรัดกุม
อันดับที่ 5 ควรจัดกิจกรรมให้มากขึ้น/ อบรมให้ความรู้ 4.81% 6.25% 19.51% 8.06% 9.66%
* อื่น ๆ ให้คำปรึกษา,ปราบปรามแหล่งผลิต,การเลือก 4.81% 10.42% 4.88% 8.06% 7.04%
คบเพื่อน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--