กรณี “กะเหรี่ยงก๊อด อาร์มี่บุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี” ที่เจ้าหน้าที่สามารถเข้าปราบปรามจนเป็นข่าวที่มี
การวิพากษ์วิจารณ์กัน อย่างกว้างขวางอยู่ขณะนี้ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของ
ประชาชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,276 คน (ชาย 552 คน 43.26% หญิง 724 คน 56.74%)
ในวันที่ 25 มกราคม 2543 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความรู้สึกของประชาชน กรณี “กะเหรี่ยงบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรีและรัฐบาลได้จัดการอย่างเด็ดขาด”
? ดีแล้ว 88.77% 87.57% 88.17%
เพราะ จะได้เข็ดหลาบ / เป็นบทเรียนที่จะไม่ให้เกิดขึ้นอีก, ยุติปัญหาได้เด็ดขาด ฯลฯ
? ไม่ดี 11.23% 12.43% 11.83%
เพราะ รุนแรงเกินไป, ไร้มนุษยธรรม, ตัวประกันอาจเป็นอันตราย, อาจมีปัญหากับประเทศเพื่อนบ้าน ฯลฯ
2. จุดบกพร่องที่ทำให้เกิดเหตุการณ์นี้
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความหละหลวม/ ประมาทของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 12.78% 68.91% 40.84%
อันดับที่ 2 มาตรการการควบคุมผู้อพยพเข้าเมืองไม่ดี 45.11% 15.55% 30.33%
อันดับที่ 3 รัฐบาลประมาทเกินไป 20.68% 5.65% 13.17%
อันดับที่ 4 ข่าวกรองไม่ดี 18.42% 4.59% 11.50%
*อื่น ๆ เช่น คนไทยใจอ่อน/ใจดีเกินไป, ตัดสินใจไม่เด็ดขาด ฯลฯ 3.01% 5.30% 4.16%
3. “ความระมัดระวัง” ที่จะไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นอีก
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ตรวจตราชายแดนให้เข้มงวด/ ดูแลให้ทั่วถึง 50.36% 39.72% 45.04%
อันดับที่ 2 มีความรอบคอบมากกว่านี้ 30.93% 13.36% 22.15%
อันดับที่ 3 มีมาตรการกับผู้อพยพอย่างเข้มงวด/ เด็ดขาด 11.87% 26.03% 18.95%
อันดับที่ 4 ข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพมากกว่านี้ 5.40% 10.62% 8.01%
* อื่น ๆ เช่น การกวดขันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ 1.44% 10.27% 5.85%
4. เหตุการณ์นี้ใครน่าจะรับผิดชอบ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 31.52% 34.81% 33.17%
อันดับที่ 2 รัฐบาลไทย 24.05% 23.30% 23.67%
อันดับที่ 3 รัฐบาลพม่า 9.81% 19.18% 14.49%
อันดับที่ 4 กระทรวงกลาโหม(ทหาร) 12.34% 10.30% 11.34%
อันดับที่ 5 กระรวงมหาดไทย (ตชด.) 10.44% 5.31% 7.88%
* อื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายข่าวกรอง ฯลฯ 11.84% 7.07% 9.45%
5. บทเรียนที่ได้รับจากเหตุการณ์ครั้งนี้
อันดับที่ 1 รัฐบาลประมาทไม่ใช้เหตุการณ์ที่ยึดสถานทูตพม่าเป็น
บทเรียน 17.76% 42.47% 30.12%
อันดับที่ 2 ไม่ควรไว้ใจผู้อพยพ/ ไม่ควรให้ความช่วยเหลือ(ใจดี)กับ
ประเทศเพื่อนบ้านมากเกินไป 25.55% 4.84% 15.20%
อันดับที่ 3 เกิดความเสียหายทั้งทรัพย์สินและสภาพจิตใจของ
ประชาชน 13.08% 9.68% 11.38%
อันดับที่ 4 ควรมีมาตรการตรวจสอบกรณีการให้ความช่วยเหลือ
ผู้อพยพอย่างเข้มงวด 12.46% 10.21% 11.33%
อันดับที่ 5 ควรหาทางป้องกันและดูแลความปลอดภัยของ
ประชาชนมากขึ้น 11.84% 5.38% 8.61%
* อื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องขาดความรอบคอบโดยเฉพาะ
ข่าวกรอง, เสียภาพพจน์โดยรวมของประเทศ ฯลฯ 19.31% 27.42% 23.36%
6. สิ่งที่ประชาชนอยากจะบอกกับรัฐบาลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรปรับปรุงเรื่องข่าวกรองด่วน 37.71% 36.18% 36.95%
อันดับที่ 2 ควรมีมาตรการที่เข้มงวดกับผู้อพยพ 27.46% 18.72% 23.09%
อันดับที่ 3 ทบทวนการช่วยเหลือผู้อพยพ/ ย้ายไปประเทศ
ที่สาม 10.24% 16.17% 13.20%
อันดับที่ 4 สร้างความมั่นคงการป้องกันประเทศให้ประชาชน
มั่นใจ 6.55% 13.62% 10.09%
อันดับที่ 5 รัฐบาลทำดีแล้ว/ จัดการได้ดี 4.92% 6.38% 5.65%
* อื่น ๆ เช่น กวดขันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง, ใช้เหตุการณ์เป็น
บทเรียน ฯลฯ 13.12% 8.93% 11.02%
--สวนดุสิตโพล--
การวิพากษ์วิจารณ์กัน อย่างกว้างขวางอยู่ขณะนี้ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของ
ประชาชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จำนวน 1,276 คน (ชาย 552 คน 43.26% หญิง 724 คน 56.74%)
ในวันที่ 25 มกราคม 2543 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความรู้สึกของประชาชน กรณี “กะเหรี่ยงบุกยึดโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรีและรัฐบาลได้จัดการอย่างเด็ดขาด”
? ดีแล้ว 88.77% 87.57% 88.17%
เพราะ จะได้เข็ดหลาบ / เป็นบทเรียนที่จะไม่ให้เกิดขึ้นอีก, ยุติปัญหาได้เด็ดขาด ฯลฯ
? ไม่ดี 11.23% 12.43% 11.83%
เพราะ รุนแรงเกินไป, ไร้มนุษยธรรม, ตัวประกันอาจเป็นอันตราย, อาจมีปัญหากับประเทศเพื่อนบ้าน ฯลฯ
2. จุดบกพร่องที่ทำให้เกิดเหตุการณ์นี้
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความหละหลวม/ ประมาทของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 12.78% 68.91% 40.84%
อันดับที่ 2 มาตรการการควบคุมผู้อพยพเข้าเมืองไม่ดี 45.11% 15.55% 30.33%
อันดับที่ 3 รัฐบาลประมาทเกินไป 20.68% 5.65% 13.17%
อันดับที่ 4 ข่าวกรองไม่ดี 18.42% 4.59% 11.50%
*อื่น ๆ เช่น คนไทยใจอ่อน/ใจดีเกินไป, ตัดสินใจไม่เด็ดขาด ฯลฯ 3.01% 5.30% 4.16%
3. “ความระมัดระวัง” ที่จะไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นอีก
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ตรวจตราชายแดนให้เข้มงวด/ ดูแลให้ทั่วถึง 50.36% 39.72% 45.04%
อันดับที่ 2 มีความรอบคอบมากกว่านี้ 30.93% 13.36% 22.15%
อันดับที่ 3 มีมาตรการกับผู้อพยพอย่างเข้มงวด/ เด็ดขาด 11.87% 26.03% 18.95%
อันดับที่ 4 ข่าวกรองต้องมีประสิทธิภาพมากกว่านี้ 5.40% 10.62% 8.01%
* อื่น ๆ เช่น การกวดขันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ 1.44% 10.27% 5.85%
4. เหตุการณ์นี้ใครน่าจะรับผิดชอบ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง 31.52% 34.81% 33.17%
อันดับที่ 2 รัฐบาลไทย 24.05% 23.30% 23.67%
อันดับที่ 3 รัฐบาลพม่า 9.81% 19.18% 14.49%
อันดับที่ 4 กระทรวงกลาโหม(ทหาร) 12.34% 10.30% 11.34%
อันดับที่ 5 กระรวงมหาดไทย (ตชด.) 10.44% 5.31% 7.88%
* อื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายข่าวกรอง ฯลฯ 11.84% 7.07% 9.45%
5. บทเรียนที่ได้รับจากเหตุการณ์ครั้งนี้
อันดับที่ 1 รัฐบาลประมาทไม่ใช้เหตุการณ์ที่ยึดสถานทูตพม่าเป็น
บทเรียน 17.76% 42.47% 30.12%
อันดับที่ 2 ไม่ควรไว้ใจผู้อพยพ/ ไม่ควรให้ความช่วยเหลือ(ใจดี)กับ
ประเทศเพื่อนบ้านมากเกินไป 25.55% 4.84% 15.20%
อันดับที่ 3 เกิดความเสียหายทั้งทรัพย์สินและสภาพจิตใจของ
ประชาชน 13.08% 9.68% 11.38%
อันดับที่ 4 ควรมีมาตรการตรวจสอบกรณีการให้ความช่วยเหลือ
ผู้อพยพอย่างเข้มงวด 12.46% 10.21% 11.33%
อันดับที่ 5 ควรหาทางป้องกันและดูแลความปลอดภัยของ
ประชาชนมากขึ้น 11.84% 5.38% 8.61%
* อื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องขาดความรอบคอบโดยเฉพาะ
ข่าวกรอง, เสียภาพพจน์โดยรวมของประเทศ ฯลฯ 19.31% 27.42% 23.36%
6. สิ่งที่ประชาชนอยากจะบอกกับรัฐบาลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ควรปรับปรุงเรื่องข่าวกรองด่วน 37.71% 36.18% 36.95%
อันดับที่ 2 ควรมีมาตรการที่เข้มงวดกับผู้อพยพ 27.46% 18.72% 23.09%
อันดับที่ 3 ทบทวนการช่วยเหลือผู้อพยพ/ ย้ายไปประเทศ
ที่สาม 10.24% 16.17% 13.20%
อันดับที่ 4 สร้างความมั่นคงการป้องกันประเทศให้ประชาชน
มั่นใจ 6.55% 13.62% 10.09%
อันดับที่ 5 รัฐบาลทำดีแล้ว/ จัดการได้ดี 4.92% 6.38% 5.65%
* อื่น ๆ เช่น กวดขันเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง, ใช้เหตุการณ์เป็น
บทเรียน ฯลฯ 13.12% 8.93% 11.02%
--สวนดุสิตโพล--