"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพ จาก 13 จังหวัด (กรุงเทพฯ
เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อยุธยา ลพบุรี นครราชสีมา อุบลราชธานี ขอนแก่น ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช และ
สงขลา) จำนวนทั้งสิ้น 3,744 คน โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 35 ปี ซึ่งอยู่หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม จำนวน
2,051 คน (54.78%) และสูงกว่า 35 ปี ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม จำนวน 1,693 คน (45.22%) ทั้งนี้เพื่อสะท้อนความคิด
เห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2519 และครบ 25 ปีในปีนี้ โดยสำรวจระหว่างวันที่ 15 กันยายน - 5 ตุลาคม
2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "6 ตุลา" ในสายตาประชาชน
กลุ่มที่ 1 ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ (อายุ 35 ปีขึ้นไป)
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่โหดร้าย / ปราบปรามการชุมนุมที่รุนแรง 63.32%
อันดับที่ 2 การใช้อำนาจที่รุนแรงของรัฐต่อนักศึกษาและประชาชน 19.20%
อันดับที่ 3 เป็นเหตุการณ์ที่ฝังใจ / เป็นประวัติศาสตร์การต่อสู้ที่รุนแรง 12.64%
* อื่นๆ เช่น บทเรียนของการต่อสู้, การปราบปราม ฯลฯ 4.84%
กลุ่มที่ 2 ผู้ที่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์ (อายุต่ำกว่า 35 ปี)
อันดับที่ 1 เป็นเรื่องราวที่น่ารู้ / น่าศึกษา / ควรจดจำเป็นบทเรียน 47.98%
อันดับที่ 2 ควรมีการตีแผ่, เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างละเอียด 38.86%
อันดับที่ 3 ขอยกย่องผู้ที่ร่วมต่อสู้เรียกร้อง / สงสารผู้สูญเสีย 10.58%
* อื่นๆ เช่น เป็นบทเรียนเกี่ยวกับประชาธิปไตย ฯลฯ 2.58%
2. "6 ตุลา" ประชาชนได้อะไร ?
อันดับที่ 1 ทำให้คนไทยตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น 47.54%
อันดับที่ 2 เป็นบทเรียนสำคัญในการต่อสู้ของประชาชนกับอำนาจรัฐ 24.65%
อันดับที่ 3 ความรอบคอบในการแก้ปัญหา / การปราบปรามที่รุนแรง
จะถูกประนาม, ถูกต่อต้าน 16.48%
อันดับที่ 4 เป็นประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางการเมืองของไทย
ที่จะต้องบันทึกไว้ 8.33%
* อื่นๆ เช่น เป็นบทเรียนเกี่ยวกับเผด็จการ, อำนาจมืดทางการเมือง ฯลฯ 3.00%
3. กรณี"6 ตุลา" ประชาชนอยากให้ดำเนินการต่อไปอย่างไร ?
อันดับที่ 1 เปิดเผยเรื่องราว / ข้อเท็จจริงอย่างละเอียด 44.90%
อันดับที่ 2 นำคนผิดมาลงโทษตามกฎหมาย 27.32%
อันดับที่ 3 ชดเชย / ตอบแทน / ยกย่องผู้ต่อสู้ ผู้สูญเสีย 16.11%
อันดับที่ 4 บันทึกในประวัติศาสตร์ / กำหนดไว้ในหลักสูตรการเรียน 9.48%
* อื่นๆ เช่น ควรมีการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงอีก ฯลฯ 2.19%
--สวนดุสิตโพล--
เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อยุธยา ลพบุรี นครราชสีมา อุบลราชธานี ขอนแก่น ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช และ
สงขลา) จำนวนทั้งสิ้น 3,744 คน โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีอายุต่ำกว่า 35 ปี ซึ่งอยู่หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม จำนวน
2,051 คน (54.78%) และสูงกว่า 35 ปี ซึ่งอยู่ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม จำนวน 1,693 คน (45.22%) ทั้งนี้เพื่อสะท้อนความคิด
เห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลาคม ซึ่งเกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2519 และครบ 25 ปีในปีนี้ โดยสำรวจระหว่างวันที่ 15 กันยายน - 5 ตุลาคม
2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "6 ตุลา" ในสายตาประชาชน
กลุ่มที่ 1 ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ (อายุ 35 ปีขึ้นไป)
อันดับที่ 1 เป็นเหตุการณ์ที่โหดร้าย / ปราบปรามการชุมนุมที่รุนแรง 63.32%
อันดับที่ 2 การใช้อำนาจที่รุนแรงของรัฐต่อนักศึกษาและประชาชน 19.20%
อันดับที่ 3 เป็นเหตุการณ์ที่ฝังใจ / เป็นประวัติศาสตร์การต่อสู้ที่รุนแรง 12.64%
* อื่นๆ เช่น บทเรียนของการต่อสู้, การปราบปราม ฯลฯ 4.84%
กลุ่มที่ 2 ผู้ที่ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์ (อายุต่ำกว่า 35 ปี)
อันดับที่ 1 เป็นเรื่องราวที่น่ารู้ / น่าศึกษา / ควรจดจำเป็นบทเรียน 47.98%
อันดับที่ 2 ควรมีการตีแผ่, เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องอย่างละเอียด 38.86%
อันดับที่ 3 ขอยกย่องผู้ที่ร่วมต่อสู้เรียกร้อง / สงสารผู้สูญเสีย 10.58%
* อื่นๆ เช่น เป็นบทเรียนเกี่ยวกับประชาธิปไตย ฯลฯ 2.58%
2. "6 ตุลา" ประชาชนได้อะไร ?
อันดับที่ 1 ทำให้คนไทยตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น 47.54%
อันดับที่ 2 เป็นบทเรียนสำคัญในการต่อสู้ของประชาชนกับอำนาจรัฐ 24.65%
อันดับที่ 3 ความรอบคอบในการแก้ปัญหา / การปราบปรามที่รุนแรง
จะถูกประนาม, ถูกต่อต้าน 16.48%
อันดับที่ 4 เป็นประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางการเมืองของไทย
ที่จะต้องบันทึกไว้ 8.33%
* อื่นๆ เช่น เป็นบทเรียนเกี่ยวกับเผด็จการ, อำนาจมืดทางการเมือง ฯลฯ 3.00%
3. กรณี"6 ตุลา" ประชาชนอยากให้ดำเนินการต่อไปอย่างไร ?
อันดับที่ 1 เปิดเผยเรื่องราว / ข้อเท็จจริงอย่างละเอียด 44.90%
อันดับที่ 2 นำคนผิดมาลงโทษตามกฎหมาย 27.32%
อันดับที่ 3 ชดเชย / ตอบแทน / ยกย่องผู้ต่อสู้ ผู้สูญเสีย 16.11%
อันดับที่ 4 บันทึกในประวัติศาสตร์ / กำหนดไว้ในหลักสูตรการเรียน 9.48%
* อื่นๆ เช่น ควรมีการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงอีก ฯลฯ 2.19%
--สวนดุสิตโพล--