* สถาบันราชภัฏจำเป็นเร่งด่วนที่ “ต้องเปลี่ยนแปลง” 86.03%
* สิ่งที่ต้องเร่งปฏิรูปด่วนคือ “การบริหารงาน” 23.73%
* ปัญหาในการปฏิรูปการศึกษาสถาบันราชภัฏ คือ“งบประมาณจำกัด” 30.46%
* ถ้าจะให้ราชภัฏดูดีเหมือนมหาวิทยาลัยต้องเร่ง “ประกันคุณภาพ” 17.19%
* ไม่น่าเชื่อ ! การเมืองสามารถล้วงลูกในสถาบันราชภัฏถึง 89.72%
* กรณี คุณสมบัติผู้สมัคร ส.ว. ที่เป็นกรรมการสถาบันราชภัฏ
“อยากให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ 57.46%”
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ที่กำลังเป็นกระแสข่าวอยู่ในปัจจุบันต่างก็ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป ทั้งปัญหา ส.ว. , การปฏิรูปการศึกษา แม้กระทั้ง “การล้วงลูกของนักการเมือง” “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความคิดเห็นคิดของผู้บริหารสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ จำนวน 229 คน ที่มาร่วมประชุม ณ โรงแรมรามาการ์เด็น ในวันที่ 17 มกราคม 2542 สรุปได้ดังนี้
1. ความจำเป็นของสถาบันราชภัฏที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อการปฏิรูปการศึกษาใน
ภาพรวม
อันดับที่ 1 จำเป็นเร่งด่วน 86.03%
อันดับที่ 2 จำเป็น 13.97%
2. สิ่งที่ต้องมีการปฏิรูปในสถาบันราชภัฏ
อันดับที่ 1 การบริหารงาน 23.73%
อันดับที่ 2 หลักสูตรและการสอน 20.13%
อันดับที่ 3 การพัฒนาบุคลากร 12.29%
อันดับที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา 11.02%
อันดับที่ 5 งบประมาณ 8.47%
ฯลฯ
3. “ปัญหาในการปฏิรูปการศึกษาของสถาบันราชภัฏ”
อันดับที่ 1 งบประมาณจำนวนจำกัด 30.46%
อันดับที่ 2 บุคลากรขาดความรับผิดชอบและขาดการยอมรับการปฏิรูป 24.09%
อันดับที่ 3 ระบบบริหารยังไม่อิสระ (เป็นแบบเก่า) 20.45%
ฯลฯ
4. ทำอย่างไร ? ภาพรวมของ “สถาบันราชภัฏ” ในสายตาประชาชนจึงจะเหมือนกับมหาวิทยาลัยของรัฐ
อันดับที่ 1 เร่งประกันคุณภาพ 17.19%
อันดับที่ 2 เร่งปฏิรูปการศึกษาให้ได้มาตรฐาน 16.56%
อันดับที่ 3 พัฒนาการจัดการ / การบริหาร 10.83%
อันดับที่ 4 เปลี่ยนคำนำหน้าเป็น “มหาวิทยาลัย” 10.19%
ฯลฯ
5. “การเมือง” สามารถล้วงลูกเข้ามาใน “สถาบันราชภัฏ” ง่ายกว่า “มหาวิทยาลัย”
อันดับที่ 1 จริง 89.72%
เพราะ การเมืองเข้ามาง่ายโดยเฉพาะในเขตท้องถิ่น, หน้าที่ตำแหน่งขึ้นอยู่กับนักการเมือง, สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (รมต. ดูแลใกล้ชิด), ผู้บริหารไม่มีอิสระ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่จริง 10.28%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสภาประจำสถาบัน, ศักดิ์ศรีของอาจารย์อุดมศึกษา ฯลฯ
6. “ทางออก” กรณีโต้แย้งเรื่องคุณสมบัติผู้สมัคร ส.ว. ที่เป็นกรรมการสภาสถาบันราชภัฏ คือ
อันดับที่ 1 ให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ 57.46%
อันดับที่ 2 ให้ผู้สมัครลาออกจากกรรมการสถาบันฯ 15.67%
อันดับที่ 3 ร่วมมือกันประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับข้อเท็จจริงเพื่อเรียกร้องความยุติธรรม
10.45%
อันดับที่ 4 ควรให้มีการสมัครรอบ 2 6.72%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
* สิ่งที่ต้องเร่งปฏิรูปด่วนคือ “การบริหารงาน” 23.73%
* ปัญหาในการปฏิรูปการศึกษาสถาบันราชภัฏ คือ“งบประมาณจำกัด” 30.46%
* ถ้าจะให้ราชภัฏดูดีเหมือนมหาวิทยาลัยต้องเร่ง “ประกันคุณภาพ” 17.19%
* ไม่น่าเชื่อ ! การเมืองสามารถล้วงลูกในสถาบันราชภัฏถึง 89.72%
* กรณี คุณสมบัติผู้สมัคร ส.ว. ที่เป็นกรรมการสถาบันราชภัฏ
“อยากให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ 57.46%”
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ที่กำลังเป็นกระแสข่าวอยู่ในปัจจุบันต่างก็ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป ทั้งปัญหา ส.ว. , การปฏิรูปการศึกษา แม้กระทั้ง “การล้วงลูกของนักการเมือง” “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความคิดเห็นคิดของผู้บริหารสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ จำนวน 229 คน ที่มาร่วมประชุม ณ โรงแรมรามาการ์เด็น ในวันที่ 17 มกราคม 2542 สรุปได้ดังนี้
1. ความจำเป็นของสถาบันราชภัฏที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อการปฏิรูปการศึกษาใน
ภาพรวม
อันดับที่ 1 จำเป็นเร่งด่วน 86.03%
อันดับที่ 2 จำเป็น 13.97%
2. สิ่งที่ต้องมีการปฏิรูปในสถาบันราชภัฏ
อันดับที่ 1 การบริหารงาน 23.73%
อันดับที่ 2 หลักสูตรและการสอน 20.13%
อันดับที่ 3 การพัฒนาบุคลากร 12.29%
อันดับที่ 4 การประกันคุณภาพการศึกษา 11.02%
อันดับที่ 5 งบประมาณ 8.47%
ฯลฯ
3. “ปัญหาในการปฏิรูปการศึกษาของสถาบันราชภัฏ”
อันดับที่ 1 งบประมาณจำนวนจำกัด 30.46%
อันดับที่ 2 บุคลากรขาดความรับผิดชอบและขาดการยอมรับการปฏิรูป 24.09%
อันดับที่ 3 ระบบบริหารยังไม่อิสระ (เป็นแบบเก่า) 20.45%
ฯลฯ
4. ทำอย่างไร ? ภาพรวมของ “สถาบันราชภัฏ” ในสายตาประชาชนจึงจะเหมือนกับมหาวิทยาลัยของรัฐ
อันดับที่ 1 เร่งประกันคุณภาพ 17.19%
อันดับที่ 2 เร่งปฏิรูปการศึกษาให้ได้มาตรฐาน 16.56%
อันดับที่ 3 พัฒนาการจัดการ / การบริหาร 10.83%
อันดับที่ 4 เปลี่ยนคำนำหน้าเป็น “มหาวิทยาลัย” 10.19%
ฯลฯ
5. “การเมือง” สามารถล้วงลูกเข้ามาใน “สถาบันราชภัฏ” ง่ายกว่า “มหาวิทยาลัย”
อันดับที่ 1 จริง 89.72%
เพราะ การเมืองเข้ามาง่ายโดยเฉพาะในเขตท้องถิ่น, หน้าที่ตำแหน่งขึ้นอยู่กับนักการเมือง, สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (รมต. ดูแลใกล้ชิด), ผู้บริหารไม่มีอิสระ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่จริง 10.28%
เพราะ ขึ้นอยู่กับสภาประจำสถาบัน, ศักดิ์ศรีของอาจารย์อุดมศึกษา ฯลฯ
6. “ทางออก” กรณีโต้แย้งเรื่องคุณสมบัติผู้สมัคร ส.ว. ที่เป็นกรรมการสภาสถาบันราชภัฏ คือ
อันดับที่ 1 ให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความ 57.46%
อันดับที่ 2 ให้ผู้สมัครลาออกจากกรรมการสถาบันฯ 15.67%
อันดับที่ 3 ร่วมมือกันประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับข้อเท็จจริงเพื่อเรียกร้องความยุติธรรม
10.45%
อันดับที่ 4 ควรให้มีการสมัครรอบ 2 6.72%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--