4 มีนาคม 2543 วันเลือกตั้ง “ส.ว.” ใกล้เข้ามาแต่ “การรับรู้” “การเข้าใจ” และ “การตัดสิน
ใจที่จะไปเลือก” ยังเป็นความวิตกกังวลของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และพยายามที่จะหาข้อมูลเพื่อให้การเลือกตั้ง “ส.ว.”
ประสบผลสำเร็จ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ร่วมกับสถาบันราชภัฏ 35 แห่งทั่วประเทศ จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ “ที่มีสิทธิ์เลือก ส.ว. (อายุ 18 ปีขึ้นไป)” จำนวน 5,741 คน
(กรุงเทพฯ 1,092 คน 19.02% ต่างจังหวัด 4,649 คน 80.98%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 3 | 22 มกราคม
2543 ซึ่งจำแนกสภาพของกลุ่มตัวอย่างตามภาคต่างๆ ได้ดังนี้
- กรุงเทพฯ จำนวน 1,092 คน 19.02%
- ภาคกลาง จำนวน 1,147 คน 19.98%
- ภาคเหนือ จำนวน 853 คน 14.86%
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 1,865 คน 32.48%
- ภาคใต้ จำนวน 784 คน 13.66%
1. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าจะมีการเลือกตั้ง ส.ว. ในวันที่ 4 มีนาคม 2543
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 39.47% 26.84% 33.16%
โดยรู้จากสื่อต่าง ๆ ดังนี้ คนกทม. ส่วนใหญ่รู้จากสื่อมวลชน คนต่างจังหวัดส่วนใหญ่รู้จากสื่อมวลชน และจาก
ผู้นำชุมชนเท่า ๆ กัน
? ไม่รู้ 60.53% 73.16% 66.84%
เพราะ ไม่ค่อยได้สนใจ, ไม่มีใครบอก, ไม่มีเวลา, ยังไม่เห็นป้าย ฯลฯ
2. ประชาชนรู้หรือไม่ว่า ส.ว. ที่จะเลือกเข้าไปในสภาไปทำหน้าที่อะไร ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 36.36% 21.17% 28.76%
โดยส่วนใหญ่ตอบว่าไปทำหน้าที่เหมือน ส.ส. , ไปบริหารประเทศ
? ไม่รู้ 63.64% 78.83% 71.24%
เพราะ ไม่สนใจ, ไม่มีการโฆษณา, ไม่มีเวลา ฯลฯ
3. ประชาชนรู้หรือไม่ว่า การเลือก ส.ว. เป็นหน้าที่ที่ทุกคนต้องไปเลือก
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 45.88% 17.04% 31.46%
เพราะ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ รู้จากโฆษณาต่าง ๆ ฯลฯ
? ไม่รู้ 54.12% 82.96% 68.54%
เพราะ บังคับกันไม่ได้อยู่แล้ว, ทุกครั้งไม่ไปเลือกก็ไม่เห็นมีอะไรเกิดขึ้น ฯลฯ
4. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าในจังหวัดของตัวเองมีใครสมัคร ส.ว. บ้าง
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
อันดับที่ 1 รู้บางคนที่สมัคร 65.76% 47.99% 56.88%
เพราะ สนใจเฉพาะบางคน, ได้รับเอกสารแจก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่รู้เลย 33.33% 43.47% 38.40%
เพราะ ไม่สนใจเพราะไม่ไปเลือกอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 รู้ทุกคนที่สมัคร 0.91% 8.54% 4.72%
เพราะ รู้จากสื่อมวลชน/ ตัดรายชื่อเก็บไว้ ฯลฯ
5. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าตนเอง “เลือก ส.ว. ได้เบอร์เดียว”
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 67.03% 15.75% 41.39%
? ไม่รู้ 32.97% 84.25% 58.61%
เพราะ ไม่เห็นประกาศ, น่าจะเลือกได้หลายคนเพราะชอบหลายคน ฯลฯ
6. ประชาชนจะใช้หลักเกณฑ์เพื่อตัดสินใจเลือก ส.ว. กับ ส.ส. อย่างเดียวกันหรือไม่ ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน 54.21% 83.18% 68.70%
เพราะ ส่วนใหญ่ก็เป็นนักการเมืองเหมือนกัน, ไปทำหน้าที่เดียวกัน ฯลฯ
? ใช้คนละหลักเกณฑ์ 45.79% 16.82% 31.30%
เพราะ บทบาทหน้าที่คนละอย่าง, ไม่อยากเลือกนักการเมืองเข้าไป ฯลฯ
7. ประชาชนอยากได้ ส.ว. ที่มีลักษณะแบบใด ?
? คนกรุงเทพฯ อยากได้ อันดับที่ 1 มีความรู้ความสามารถ/เข้าไปทำหน้าที่ได้ดี 33.06%
อันดับที่ 2 ซื่อสัตย์ สุจริต 26.83%
อันดับที่ 3 มีความรับผิดชอบ 25.27%
* อื่น ๆ เช่น วิสัยทัศน์กว้างไกล ฯลฯ 14.84%
? คนต่างจังหวัด อยากได้ อันดับที่ 1 ซื่อสัตย์ สุจริต 40.42%
อันดับที่ 2 เป็นตัวแทนที่ดี ช่วยเหลือประชาชนได้อย่างดี 30.07%
อันดับที่ 3 มีความรู้ความสามารถ 20.69%
* อื่น ๆ เช่น รับผิดชอบดี ฯลฯ 8.82%
8. ประชาชนคาดหวังว่า “ส.ว.” จะช่วยให้การเมืองไทยเป็นอย่างไร ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
อันดับที่ 1 คงจะเหมือนเดิม 40.75% 41.26% 41.01%
เพราะ คาดว่าจะได้คนเดิมที่ชอบสมัคร, นักการเมืองคงได้เข้ามาอีก ฯลฯ
อันดับที่ 2 คงจะดีขึ้น 18.77% 24.43% 21.60%
เพราะ ได้คนที่เป็นกลาง หลากหลายอาชีพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 คงจะไม่ดีขึ้น 18.86% 23.36% 21.11%
เพราะ ยังคงมีการซื้อเสียงและคนเดิม ๆ ได้เข้ามา ฯลฯ
อันดับที่ 4 คงจะแย่ลง 15.84% 8.22% 12.03%
เพราะ เกิดกลุ่มการเมืองเพิ่มเข้ามา, ซื้อเสียงมากขึ้น, หาเสียงใต้ดิน ฯลฯ
อันดับที่ 5 คงจะดีขึ้นมาก 5.78% 2.73% 4.25%
เพราะ ความหลากหลายของผู้สมัคร, จะเป็นคนกลางระหว่างฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
ใจที่จะไปเลือก” ยังเป็นความวิตกกังวลของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และพยายามที่จะหาข้อมูลเพื่อให้การเลือกตั้ง “ส.ว.”
ประสบผลสำเร็จ “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ร่วมกับสถาบันราชภัฏ 35 แห่งทั่วประเทศ จึงได้สำรวจ
ความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ “ที่มีสิทธิ์เลือก ส.ว. (อายุ 18 ปีขึ้นไป)” จำนวน 5,741 คน
(กรุงเทพฯ 1,092 คน 19.02% ต่างจังหวัด 4,649 คน 80.98%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 3 | 22 มกราคม
2543 ซึ่งจำแนกสภาพของกลุ่มตัวอย่างตามภาคต่างๆ ได้ดังนี้
- กรุงเทพฯ จำนวน 1,092 คน 19.02%
- ภาคกลาง จำนวน 1,147 คน 19.98%
- ภาคเหนือ จำนวน 853 คน 14.86%
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 1,865 คน 32.48%
- ภาคใต้ จำนวน 784 คน 13.66%
1. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าจะมีการเลือกตั้ง ส.ว. ในวันที่ 4 มีนาคม 2543
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 39.47% 26.84% 33.16%
โดยรู้จากสื่อต่าง ๆ ดังนี้ คนกทม. ส่วนใหญ่รู้จากสื่อมวลชน คนต่างจังหวัดส่วนใหญ่รู้จากสื่อมวลชน และจาก
ผู้นำชุมชนเท่า ๆ กัน
? ไม่รู้ 60.53% 73.16% 66.84%
เพราะ ไม่ค่อยได้สนใจ, ไม่มีใครบอก, ไม่มีเวลา, ยังไม่เห็นป้าย ฯลฯ
2. ประชาชนรู้หรือไม่ว่า ส.ว. ที่จะเลือกเข้าไปในสภาไปทำหน้าที่อะไร ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 36.36% 21.17% 28.76%
โดยส่วนใหญ่ตอบว่าไปทำหน้าที่เหมือน ส.ส. , ไปบริหารประเทศ
? ไม่รู้ 63.64% 78.83% 71.24%
เพราะ ไม่สนใจ, ไม่มีการโฆษณา, ไม่มีเวลา ฯลฯ
3. ประชาชนรู้หรือไม่ว่า การเลือก ส.ว. เป็นหน้าที่ที่ทุกคนต้องไปเลือก
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 45.88% 17.04% 31.46%
เพราะ รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ รู้จากโฆษณาต่าง ๆ ฯลฯ
? ไม่รู้ 54.12% 82.96% 68.54%
เพราะ บังคับกันไม่ได้อยู่แล้ว, ทุกครั้งไม่ไปเลือกก็ไม่เห็นมีอะไรเกิดขึ้น ฯลฯ
4. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าในจังหวัดของตัวเองมีใครสมัคร ส.ว. บ้าง
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
อันดับที่ 1 รู้บางคนที่สมัคร 65.76% 47.99% 56.88%
เพราะ สนใจเฉพาะบางคน, ได้รับเอกสารแจก ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่รู้เลย 33.33% 43.47% 38.40%
เพราะ ไม่สนใจเพราะไม่ไปเลือกอยู่แล้ว ฯลฯ
อันดับที่ 3 รู้ทุกคนที่สมัคร 0.91% 8.54% 4.72%
เพราะ รู้จากสื่อมวลชน/ ตัดรายชื่อเก็บไว้ ฯลฯ
5. ประชาชนรู้หรือไม่ว่าตนเอง “เลือก ส.ว. ได้เบอร์เดียว”
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? รู้ 67.03% 15.75% 41.39%
? ไม่รู้ 32.97% 84.25% 58.61%
เพราะ ไม่เห็นประกาศ, น่าจะเลือกได้หลายคนเพราะชอบหลายคน ฯลฯ
6. ประชาชนจะใช้หลักเกณฑ์เพื่อตัดสินใจเลือก ส.ว. กับ ส.ส. อย่างเดียวกันหรือไม่ ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
? ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน 54.21% 83.18% 68.70%
เพราะ ส่วนใหญ่ก็เป็นนักการเมืองเหมือนกัน, ไปทำหน้าที่เดียวกัน ฯลฯ
? ใช้คนละหลักเกณฑ์ 45.79% 16.82% 31.30%
เพราะ บทบาทหน้าที่คนละอย่าง, ไม่อยากเลือกนักการเมืองเข้าไป ฯลฯ
7. ประชาชนอยากได้ ส.ว. ที่มีลักษณะแบบใด ?
? คนกรุงเทพฯ อยากได้ อันดับที่ 1 มีความรู้ความสามารถ/เข้าไปทำหน้าที่ได้ดี 33.06%
อันดับที่ 2 ซื่อสัตย์ สุจริต 26.83%
อันดับที่ 3 มีความรับผิดชอบ 25.27%
* อื่น ๆ เช่น วิสัยทัศน์กว้างไกล ฯลฯ 14.84%
? คนต่างจังหวัด อยากได้ อันดับที่ 1 ซื่อสัตย์ สุจริต 40.42%
อันดับที่ 2 เป็นตัวแทนที่ดี ช่วยเหลือประชาชนได้อย่างดี 30.07%
อันดับที่ 3 มีความรู้ความสามารถ 20.69%
* อื่น ๆ เช่น รับผิดชอบดี ฯลฯ 8.82%
8. ประชาชนคาดหวังว่า “ส.ว.” จะช่วยให้การเมืองไทยเป็นอย่างไร ?
คน กทม. คนตจว. ภาพรวม
อันดับที่ 1 คงจะเหมือนเดิม 40.75% 41.26% 41.01%
เพราะ คาดว่าจะได้คนเดิมที่ชอบสมัคร, นักการเมืองคงได้เข้ามาอีก ฯลฯ
อันดับที่ 2 คงจะดีขึ้น 18.77% 24.43% 21.60%
เพราะ ได้คนที่เป็นกลาง หลากหลายอาชีพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 คงจะไม่ดีขึ้น 18.86% 23.36% 21.11%
เพราะ ยังคงมีการซื้อเสียงและคนเดิม ๆ ได้เข้ามา ฯลฯ
อันดับที่ 4 คงจะแย่ลง 15.84% 8.22% 12.03%
เพราะ เกิดกลุ่มการเมืองเพิ่มเข้ามา, ซื้อเสียงมากขึ้น, หาเสียงใต้ดิน ฯลฯ
อันดับที่ 5 คงจะดีขึ้นมาก 5.78% 2.73% 4.25%
เพราะ ความหลากหลายของผู้สมัคร, จะเป็นคนกลางระหว่างฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--