กระแสข่าวเกี่ยวกับการดำเนินงานจัดตั้ง "กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท" ในแต่ละหมู่บ้านที่กำลังมีปัญหา ถกเถียงกันในกรณีการ
จัดตั้งคณะกรรมการเข้าไปดูแล "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ที่ติดตามและรู้เรื่องเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 1,473 คน (ชาย 834 คน 56.62% หญิง 639 คน 43.38%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 8 - 9 พฤษภาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. กรณีที่ชาวบ้านไม่อยากให้นักการเมืองท้องถิ่นเข้ามาเป็นกรรมการกองทุนหมู่บ้านนั้น
ประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไร ?
ชาย หญิง ภาพรวม
เห็นด้วย ที่ "ไม่ควรให้นักการเมืองท้องถิ่น" เข้ามาเป็นกรรมการ 69.64% 67.39% 68.52%
เพราะ อาจมีการทุจริต, จะได้มีการจัดการที่ดี, ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน, ประชาชนไม่ไว้ใจนักการเมือง ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย "ควรให้นักการเมืองท้องถิ่น" เข้ามาเป็นกรรมการ 30.36% 32.61% 31.48%
เพราะ น่าจะเข้าใจปัญหามากกว่าผู้อื่น,มีประสบการณ์,ควรจะทำงานร่วมกัน,นักการเมืองคุมนโยบาย ฯลฯ
2. ความมั่นใจของประชาชนต่อกรณีเงินกองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จะช่วยเหลือให้สภาพเศรษฐกิจไทยดีขึ้นหรือไม่ ?
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 59.82% 57.30% 58.56%
เพราะ มีบุคคลที่หวังผลประโยชน์, ช่วยได้ในบางส่วน, จำนวนเงินน้อยเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 มั่นใจ 22.32% 11.24% 16.79%
เพราะ สามารถช่วยได้ในระดับหนึ่ง, สามารถเป็นทุนในการประกอบอาชีพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจเลย 12.50% 16.85% 14.67%
เพราะ ไม่มั่นใจความโปร่งใสในการบริหารงาน, อาจมีการใช้เงินผิดวัตถุประสงค์ ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 5.36% 14.61% 9.98%
เพราะ ประชาชนมีรายได้, ได้รับเงินทุนมาเพื่อลงทุนในการประกอบอาชีพ ฯลฯ
3. ความมั่นใจของประชาชนต่อกรณี ความโปร่งใสว่าเงินกองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จะถึงมือชาวบ้านเต็มที่หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 63.39% 67.03% 65.21%
เพราะ กลัวการคอรัปชั่น, เงินอาจถึงมือประชาชนไม่ครบจำนวน, มีผู้หวังกอบโกยผลประโยชน์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มั่นใจเลย 20.54% 27.47% 24.01%
เพราะ เกิดการคอรัปชั่น,การเห็นแก่พรรคพวก,ขาดการควบคุมที่ดี,ชาวบ้านไม่มีปากเสียง,ราชการไทยไม่โปร่งใส ฯลฯ
อันดับที่ 3 มั่นใจ 16.07% 4.40% 10.23%
เพราะ มีองค์กรที่สามารถตรวจสอบได้, รัฐบาลให้ความช่วยเหลือจริงจัง, ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการหมู่บ้าน ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก - 1.10% 0.55%
เพราะ มีการวางแผนมาอย่างดี, มีกรรมการตรวจสอบ ฯลฯ
4. ทำอย่างไร ? กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จึงจะประสบผลสำเร็จ
อันดับที่ 1 ควรมีการตรวจสอบอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 40.00% 22.06% 31.03%
อันดับที่ 2 ควรตั้งคณะกรรมการหมู่บ้านเพื่อบริหารเงิน 6.67% 33.82% 20.24%
อันดับที่ 3 ผู้บริหารกองทุนควรมีความสามารถ/มีความซื่อสัตย์สุจริต 25.71% 14.71% 20.21%
อันดับที่ 4 ควรให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน 11.43% 23.53% 17.48%
อันดับที่ 5 จัดตั้งกองทุน / สหกรณ์ / ธนาคารหมู่บ้าน ช่วยดูแล 11.43% 4.41% 7.92%
* อื่น ๆ เช่น รัฐส่งเสริมความรู้ในการจัดกองทุน,
รัฐบาลช่วยดูแลอย่างจริงจัง ฯลฯ 4.76% 1.47% 3.12%
--สวนดุสิตโพล--
จัดตั้งคณะกรรมการเข้าไปดูแล "สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ที่ติดตามและรู้เรื่องเกี่ยวกับกองทุนหมู่บ้าน จำนวน 1,473 คน (ชาย 834 คน 56.62% หญิง 639 คน 43.38%) โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 8 - 9 พฤษภาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. กรณีที่ชาวบ้านไม่อยากให้นักการเมืองท้องถิ่นเข้ามาเป็นกรรมการกองทุนหมู่บ้านนั้น
ประชาชนมีความคิดเห็นอย่างไร ?
ชาย หญิง ภาพรวม
เห็นด้วย ที่ "ไม่ควรให้นักการเมืองท้องถิ่น" เข้ามาเป็นกรรมการ 69.64% 67.39% 68.52%
เพราะ อาจมีการทุจริต, จะได้มีการจัดการที่ดี, ทุกคนมีสิทธิ์เท่าเทียมกัน, ประชาชนไม่ไว้ใจนักการเมือง ฯลฯ
ไม่เห็นด้วย "ควรให้นักการเมืองท้องถิ่น" เข้ามาเป็นกรรมการ 30.36% 32.61% 31.48%
เพราะ น่าจะเข้าใจปัญหามากกว่าผู้อื่น,มีประสบการณ์,ควรจะทำงานร่วมกัน,นักการเมืองคุมนโยบาย ฯลฯ
2. ความมั่นใจของประชาชนต่อกรณีเงินกองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จะช่วยเหลือให้สภาพเศรษฐกิจไทยดีขึ้นหรือไม่ ?
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 59.82% 57.30% 58.56%
เพราะ มีบุคคลที่หวังผลประโยชน์, ช่วยได้ในบางส่วน, จำนวนเงินน้อยเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 2 มั่นใจ 22.32% 11.24% 16.79%
เพราะ สามารถช่วยได้ในระดับหนึ่ง, สามารถเป็นทุนในการประกอบอาชีพ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นใจเลย 12.50% 16.85% 14.67%
เพราะ ไม่มั่นใจความโปร่งใสในการบริหารงาน, อาจมีการใช้เงินผิดวัตถุประสงค์ ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก 5.36% 14.61% 9.98%
เพราะ ประชาชนมีรายได้, ได้รับเงินทุนมาเพื่อลงทุนในการประกอบอาชีพ ฯลฯ
3. ความมั่นใจของประชาชนต่อกรณี ความโปร่งใสว่าเงินกองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จะถึงมือชาวบ้านเต็มที่หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ค่อยมั่นใจ 63.39% 67.03% 65.21%
เพราะ กลัวการคอรัปชั่น, เงินอาจถึงมือประชาชนไม่ครบจำนวน, มีผู้หวังกอบโกยผลประโยชน์ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่มั่นใจเลย 20.54% 27.47% 24.01%
เพราะ เกิดการคอรัปชั่น,การเห็นแก่พรรคพวก,ขาดการควบคุมที่ดี,ชาวบ้านไม่มีปากเสียง,ราชการไทยไม่โปร่งใส ฯลฯ
อันดับที่ 3 มั่นใจ 16.07% 4.40% 10.23%
เพราะ มีองค์กรที่สามารถตรวจสอบได้, รัฐบาลให้ความช่วยเหลือจริงจัง, ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการหมู่บ้าน ฯลฯ
อันดับที่ 4 มั่นใจมาก - 1.10% 0.55%
เพราะ มีการวางแผนมาอย่างดี, มีกรรมการตรวจสอบ ฯลฯ
4. ทำอย่างไร ? กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท จึงจะประสบผลสำเร็จ
อันดับที่ 1 ควรมีการตรวจสอบอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 40.00% 22.06% 31.03%
อันดับที่ 2 ควรตั้งคณะกรรมการหมู่บ้านเพื่อบริหารเงิน 6.67% 33.82% 20.24%
อันดับที่ 3 ผู้บริหารกองทุนควรมีความสามารถ/มีความซื่อสัตย์สุจริต 25.71% 14.71% 20.21%
อันดับที่ 4 ควรให้ประชาชนในหมู่บ้านมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน 11.43% 23.53% 17.48%
อันดับที่ 5 จัดตั้งกองทุน / สหกรณ์ / ธนาคารหมู่บ้าน ช่วยดูแล 11.43% 4.41% 7.92%
* อื่น ๆ เช่น รัฐส่งเสริมความรู้ในการจัดกองทุน,
รัฐบาลช่วยดูแลอย่างจริงจัง ฯลฯ 4.76% 1.47% 3.12%
--สวนดุสิตโพล--