"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของผู้ที่บริโภคเนื้อหมู ท่ามกลางกระแสข่าวความวิตกกังวลเกี่ยวกับ
"สารเร่งเนื้อแดง" ที่คาดว่าจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค โดยสำรวจในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 2,101 คน
(ชาย 683 คน 32.51% หญิง 1,418 คน 67.49%) ระหว่างวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ผู้บริโภค" ชอบรับประทานหมูมากน้อยเพียงใด ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบ 61.76% 52.38% 57.07%
เพราะ หาซื้อง่าย, ทำอาหารได้หลายอย่าง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ชอบมาก 15.69% 15.84% 15.76%
เพราะ อร่อย, หาซื้อง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยชอบ 14.71% 15.60% 15.16%
เพราะ ชอบไก่มากกว่า, มีไขมันสูง ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ชอบ 7.84% 16.18% 12.01%
เพราะ เป็นสัตว์ใหญ่, ชอบมังสวิรัติ ฯลฯ
2. "ผู้บริโภค" รู้เรื่องพิษภัยของการรับประทานหมูที่เป็นข่าวในขณะนี้หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
รู้เรื่อง (สารเร่งเนื้อแดง, ใช้สารที่เป็นอันตราย) 31.37% 41.83% 36.60%
ไม่รู้เรื่อง 68.63% 58.17% 63.40%
3. จากพิษภัยจากการรับประทานหมูที่เป็นข่าวอยู่ในขณะนี้มีผลต่อการรับประทานหมูของ
"ผู้บริโภค และ ครอบครัว" หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลทำให้ เลือกเนื้อหมูที่ดีมาทำอาหาร 34.33% 44.44% 39.38%
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 45.08% 30.72% 37.90%
เพราะ ไม่ได้สนใจข่าว/ไม่รู้ข่าว, เลือกซื้อหมูที่ดีอยู่แล้ว ฯลฯ
4. "ผู้บริโภค" กลัวอะไรมากที่สุดเกี่ยวกับเรื่องของ การรับประทานหมู
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 การใช้สารเร่งเนื้อแดง 52.94% 55.77% 54.35%
อันดับที่ 2 การใช้ยาปฏิชีวนะคุมคุณภาพหมู 28.43% 24.36% 26.40%
อันดับที่ 3 โรงฆ่าสัตว์สกปรก / ล้าสมัย ปนเปื้อนจุลินทรีย์ 18.63% 19.87% 19.25%
5. "ผู้บริโภค" อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องป้องกันและแก้ไขพิษภัยในการรับประทานหมู
อย่างไร ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เข้มงวดในการตรวจคุณภาพเนื้อหมูอย่างสม่ำเสมอ 47.13% 48.32% 47.73%
อันดับที่ 2 กวดขัน / ปรับปรุงโรงฆ่าสัตว์ให้ได้มาตรฐาน 27.59% 32.89% 30.24%
อันดับที่ 3 กวดขัน /ดูแล/ ควบคุมการเลี้ยงหมูให้ถูกวิธี 10.34% 9.39% 9.86%
อันดับที่ 4 เผยแพร่ความรู้ / อบรมการบริโภคเนื้อหมูที่ถูกวิธี 8.04% 6.04% 7.04%
* อื่น ๆ เช่น เอาใจใส่ต่อผู้บริโภคให้มากกว่านี้ ฯลฯ 6.90% 3.36% 5.13%
--สวนดุสิตโพล--
"สารเร่งเนื้อแดง" ที่คาดว่าจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค โดยสำรวจในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 2,101 คน
(ชาย 683 คน 32.51% หญิง 1,418 คน 67.49%) ระหว่างวันที่ 2 - 4 สิงหาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. "ผู้บริโภค" ชอบรับประทานหมูมากน้อยเพียงใด ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ชอบ 61.76% 52.38% 57.07%
เพราะ หาซื้อง่าย, ทำอาหารได้หลายอย่าง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ชอบมาก 15.69% 15.84% 15.76%
เพราะ อร่อย, หาซื้อง่าย ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ค่อยชอบ 14.71% 15.60% 15.16%
เพราะ ชอบไก่มากกว่า, มีไขมันสูง ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่ชอบ 7.84% 16.18% 12.01%
เพราะ เป็นสัตว์ใหญ่, ชอบมังสวิรัติ ฯลฯ
2. "ผู้บริโภค" รู้เรื่องพิษภัยของการรับประทานหมูที่เป็นข่าวในขณะนี้หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
รู้เรื่อง (สารเร่งเนื้อแดง, ใช้สารที่เป็นอันตราย) 31.37% 41.83% 36.60%
ไม่รู้เรื่อง 68.63% 58.17% 63.40%
3. จากพิษภัยจากการรับประทานหมูที่เป็นข่าวอยู่ในขณะนี้มีผลต่อการรับประทานหมูของ
"ผู้บริโภค และ ครอบครัว" หรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลทำให้ เลือกเนื้อหมูที่ดีมาทำอาหาร 34.33% 44.44% 39.38%
อันดับที่ 2 ไม่มีผล 45.08% 30.72% 37.90%
เพราะ ไม่ได้สนใจข่าว/ไม่รู้ข่าว, เลือกซื้อหมูที่ดีอยู่แล้ว ฯลฯ
4. "ผู้บริโภค" กลัวอะไรมากที่สุดเกี่ยวกับเรื่องของ การรับประทานหมู
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 การใช้สารเร่งเนื้อแดง 52.94% 55.77% 54.35%
อันดับที่ 2 การใช้ยาปฏิชีวนะคุมคุณภาพหมู 28.43% 24.36% 26.40%
อันดับที่ 3 โรงฆ่าสัตว์สกปรก / ล้าสมัย ปนเปื้อนจุลินทรีย์ 18.63% 19.87% 19.25%
5. "ผู้บริโภค" อยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องป้องกันและแก้ไขพิษภัยในการรับประทานหมู
อย่างไร ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เข้มงวดในการตรวจคุณภาพเนื้อหมูอย่างสม่ำเสมอ 47.13% 48.32% 47.73%
อันดับที่ 2 กวดขัน / ปรับปรุงโรงฆ่าสัตว์ให้ได้มาตรฐาน 27.59% 32.89% 30.24%
อันดับที่ 3 กวดขัน /ดูแล/ ควบคุมการเลี้ยงหมูให้ถูกวิธี 10.34% 9.39% 9.86%
อันดับที่ 4 เผยแพร่ความรู้ / อบรมการบริโภคเนื้อหมูที่ถูกวิธี 8.04% 6.04% 7.04%
* อื่น ๆ เช่น เอาใจใส่ต่อผู้บริโภคให้มากกว่านี้ ฯลฯ 6.90% 3.36% 5.13%
--สวนดุสิตโพล--