จากกระแสข่าวการดึง "พรรคชาติพัฒนา" เข้าร่วมฝ่ายรัฐบาลนั้น ทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์กันอย่าง
กว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็น "การเสียบเพื่อชาติ" "การจัดสรรตำแหน่งรัฐมนตรี" "เผด็จการรัฐสภา" จนถึง "การ
หนีอภิปรายไม่ไว้วางใจ" “สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขต
กรุงเทพฯและปริมณฑลทุกสาขาอาชีพ จำนวน 1,843 คน (ชาย 957 คน 51.93% หญิง 886 คน 48.07%
ระหว่างวันที่ 10-11 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ กับการดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 44.94% 47.40% 46.17%
เพราะ มีคนที่มีความรู้ความสามารถมาก,หัวหน้าพรรคตั้งใจทำงาน,ช่วยกันพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 31.01% 30.43% 30.72%
เพราะ ทำให้ฝ่ายค้านมีเสียงน้อยลง,ไม่เกิดความแตกต่าง,เป็นการผูกขาดทางการเมืองมากเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉย ๆ 24.05% 22.17% 23.11%
เพราะ เบื่อการเมือง,เป็นเกมการเมือง,ไม่เกิดผลอะไรมากนัก ฯลฯ
2. การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทำให้เสถียรภาพของรัฐบาลมั่นคงยิ่งขึ้นหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มั่นคงขึ้น 53.16% 53.39% 53.28%
เพราะ มีเสียงข้างมาก, ร่วมกันแก้ไขปัญหา, ทีมบริหารงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 29.75% 32.13% 30.94%
เพราะ ต้องรอดูผลงานก่อน, รัฐบาลมีความมั่นคงอยู่แล้ว,อาจเกิดปัญหาความขัดแย้งเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นคงขึ้น 17.09% 14.48% 15.78%
เพราะ รัฐบาลมีความมั่นคงอยู่แล้ว,อาจเกิดปัญหาแย่งชิงตำแหน่งกันเอง, อาจเกิดความแตกแยก ฯลฯ
3. การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทำให้ เสียงของรัฐบาลเพิ่มขึ้นมาก จะกลายเป็นเผด็จการรัฐสภาหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นเผด็จการรัฐสภา 32.27% 35.96% 34.12%
เพราะ มีเสียงข้างมาก ฝ่ายค้านไม่สามารถคานอำนาจได้,ส่งผลเสียต่อระบอบประชาธิปไตย,เปิดอภิปรายยากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เป็นเผด็จการรัฐสภา 34.18% 32.46% 33.32%
เพราะ จะได้คนดีเข้ามาทำงาน,ขึ้นอยู่กับการออกเสียงในแต่ละครั้ง,คนน้อยคงไม่ส่งผลอะไรมากนัก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 33.55% 31.58% 32.56%
เพราะ ประชาธิปัตย์คงทำงานพรรคเดียวได้ดีกว่า,ต้องรอดูไปก่อน,ขึ้นอยู่กับการทำงานแต่ละฝ่าย ฯลฯ
4. ประชาชนอยากให้พรรคชาติพัฒนาเข้ามาดูแลกระทรวงใด ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 กระทรวงพาณิชย์ 19.53% 22.22% 20.87%
อันดับที่ 2 กระทรวงอุตสาหกรรม 14.06% 13.89% 13.97%
อันดับที่ 3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14.06% 12.96% 13.51%
อันดับที่ 4 กระทรวงศึกษาธิการ 11.72% 15.28% 13.50%
อันดับที่ 5 กระทรวงการต่างประเทศ 4.69% 6.48% 5.59%
* อื่น ๆ เช่น กระทรวงมหาดไทย,สาธารณสุข,แรงงาน,แล้วแต่ความเหมาะสมฯลฯ 35.94% 29.17% 32.56%
5. "ผลดี" และ "ผลเสีย" ในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคชาติพัฒนา ที่มีต่อ "การเมืองไทย"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอ ๆ กัน 46.20% 42.15% 44.17%
เพราะ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลมากกว่า,ทุกอย่างต้องมีทั้งดีและไม่ดี,ต้องรอดูการทำงานก่อนจึงจะตัดสิน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ผลดี มากกว่า ผลเสีย 36.71% 38.12% 37.42%
เพราะ ช่วยกันพัฒนาประเทศ,แก้ไขปัญหาต่างๆ, เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง,มีคนทำงานเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ผลเสีย มากกว่า ผลดี 17.09% 19.73% 18.41%
เพราะ แตกความสามัคคีง่ายขึ้น, ลดอำนาจการตรวจสอบของฝ่ายค้าน,เป็นการผูกขาดทางการเมือง ฯลฯ
6. การที่พรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล ประชาชนได้รับอะไรบ้าง ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้อะไรเลย 75.00% 43.89% 59.44%
เพราะ ยังไม่มีบทบาทอะไรมากนัก,นักการเมืองเอาเปรียบประชาชนมาตลอด,ทุกอย่างคงเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ได้ผลดี 19.23% 50.23% 34.73%
คือ เป็นการระดมสมองเพื่อแก้ไขปัญหา,มีผลงานใหม่ ๆ,ทำให้ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ได้ผลเสีย 5.77% 5.88% 5.83%
คือ อาจเกิดความขัดแย้งกันมากขึ้นเพราะต่างคนต่างต้องการเก้าอี้,มีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
กว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็น "การเสียบเพื่อชาติ" "การจัดสรรตำแหน่งรัฐมนตรี" "เผด็จการรัฐสภา" จนถึง "การ
หนีอภิปรายไม่ไว้วางใจ" “สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขต
กรุงเทพฯและปริมณฑลทุกสาขาอาชีพ จำนวน 1,843 คน (ชาย 957 คน 51.93% หญิง 886 คน 48.07%
ระหว่างวันที่ 10-11 ธันวาคม 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ กับการดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เห็นด้วย 44.94% 47.40% 46.17%
เพราะ มีคนที่มีความรู้ความสามารถมาก,หัวหน้าพรรคตั้งใจทำงาน,ช่วยกันพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เห็นด้วย 31.01% 30.43% 30.72%
เพราะ ทำให้ฝ่ายค้านมีเสียงน้อยลง,ไม่เกิดความแตกต่าง,เป็นการผูกขาดทางการเมืองมากเกินไป ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉย ๆ 24.05% 22.17% 23.11%
เพราะ เบื่อการเมือง,เป็นเกมการเมือง,ไม่เกิดผลอะไรมากนัก ฯลฯ
2. การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทำให้เสถียรภาพของรัฐบาลมั่นคงยิ่งขึ้นหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มั่นคงขึ้น 53.16% 53.39% 53.28%
เพราะ มีเสียงข้างมาก, ร่วมกันแก้ไขปัญหา, ทีมบริหารงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 29.75% 32.13% 30.94%
เพราะ ต้องรอดูผลงานก่อน, รัฐบาลมีความมั่นคงอยู่แล้ว,อาจเกิดปัญหาความขัดแย้งเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มั่นคงขึ้น 17.09% 14.48% 15.78%
เพราะ รัฐบาลมีความมั่นคงอยู่แล้ว,อาจเกิดปัญหาแย่งชิงตำแหน่งกันเอง, อาจเกิดความแตกแยก ฯลฯ
3. การดึงพรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาลทำให้ เสียงของรัฐบาลเพิ่มขึ้นมาก จะกลายเป็นเผด็จการรัฐสภาหรือไม่ ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เป็นเผด็จการรัฐสภา 32.27% 35.96% 34.12%
เพราะ มีเสียงข้างมาก ฝ่ายค้านไม่สามารถคานอำนาจได้,ส่งผลเสียต่อระบอบประชาธิปไตย,เปิดอภิปรายยากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่เป็นเผด็จการรัฐสภา 34.18% 32.46% 33.32%
เพราะ จะได้คนดีเข้ามาทำงาน,ขึ้นอยู่กับการออกเสียงในแต่ละครั้ง,คนน้อยคงไม่ส่งผลอะไรมากนัก ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่แน่ใจ 33.55% 31.58% 32.56%
เพราะ ประชาธิปัตย์คงทำงานพรรคเดียวได้ดีกว่า,ต้องรอดูไปก่อน,ขึ้นอยู่กับการทำงานแต่ละฝ่าย ฯลฯ
4. ประชาชนอยากให้พรรคชาติพัฒนาเข้ามาดูแลกระทรวงใด ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 กระทรวงพาณิชย์ 19.53% 22.22% 20.87%
อันดับที่ 2 กระทรวงอุตสาหกรรม 14.06% 13.89% 13.97%
อันดับที่ 3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 14.06% 12.96% 13.51%
อันดับที่ 4 กระทรวงศึกษาธิการ 11.72% 15.28% 13.50%
อันดับที่ 5 กระทรวงการต่างประเทศ 4.69% 6.48% 5.59%
* อื่น ๆ เช่น กระทรวงมหาดไทย,สาธารณสุข,แรงงาน,แล้วแต่ความเหมาะสมฯลฯ 35.94% 29.17% 32.56%
5. "ผลดี" และ "ผลเสีย" ในการเข้าร่วมรัฐบาลของพรรคชาติพัฒนา ที่มีต่อ "การเมืองไทย"
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 พอ ๆ กัน 46.20% 42.15% 44.17%
เพราะ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลมากกว่า,ทุกอย่างต้องมีทั้งดีและไม่ดี,ต้องรอดูการทำงานก่อนจึงจะตัดสิน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ผลดี มากกว่า ผลเสีย 36.71% 38.12% 37.42%
เพราะ ช่วยกันพัฒนาประเทศ,แก้ไขปัญหาต่างๆ, เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง,มีคนทำงานเพิ่มมากขึ้น ฯลฯ
อันดับที่ 3 ผลเสีย มากกว่า ผลดี 17.09% 19.73% 18.41%
เพราะ แตกความสามัคคีง่ายขึ้น, ลดอำนาจการตรวจสอบของฝ่ายค้าน,เป็นการผูกขาดทางการเมือง ฯลฯ
6. การที่พรรคชาติพัฒนาเข้าร่วมรัฐบาล ประชาชนได้รับอะไรบ้าง ?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ได้อะไรเลย 75.00% 43.89% 59.44%
เพราะ ยังไม่มีบทบาทอะไรมากนัก,นักการเมืองเอาเปรียบประชาชนมาตลอด,ทุกอย่างคงเหมือนเดิม ฯลฯ
อันดับที่ 2 ได้ผลดี 19.23% 50.23% 34.73%
คือ เป็นการระดมสมองเพื่อแก้ไขปัญหา,มีผลงานใหม่ ๆ,ทำให้ตัวเลือกพรรคการเมืองน้อยลง ฯลฯ
อันดับที่ 3 ได้ผลเสีย 5.77% 5.88% 5.83%
คือ อาจเกิดความขัดแย้งกันมากขึ้นเพราะต่างคนต่างต้องการเก้าอี้,มีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--