ในช่วงการสอบเรียนต่อระดับอุดมศึกษาทุกปีย่อมมีทั้งผู้ที่ “สมหวัง” และ “ผิดหวัง” โดยเฉพาะผู้ที่มุ่งหวังเอ็นทรานซ์เพียงอย่างเดียวย่อมมีโอกาส “ผิดหวัง” มาก เพราะสัดส่วนในการรับนักศึกษาเข้าเรียนมีจำนวนจำกัด เพื่อการเตรียมการและตอบสนองความต้องการในการศึกษาต่อดังกล่าว “สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจ ความคิดเห็นของนักเรียนในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จำนวน 2,715 คน (ชาย 1,211 คน 44.60 % หญิง 1,504 คน 55.40 %) ระหว่างวันที่ 10 ธันวาคม 2542 - 5 มกราคม 2543 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความตั้งใจที่จะสอบเอ็นทรานซ์
ชาย หญิง เฉลี่ย
? ตั้งใจมาก 38.73% 56.91% 47.82%
? ตั้งใจอยู่บ้าง 42.77% 36.17% 39.47%
? เรื่อย ๆ 14.45% 4.79% 9.62%
? คงไม่สอบ 4.05% 2.13% 3.09%
2. การกวดวิชาเพื่อเตรียมตัวสอบเอ็นทรานซ์
ชาย หญิง เฉลี่ย
? กวดวิชา 50.29% 66.76% 58.53%
โดยกวดวิชาที่ เคมีครูอุ๊ , The Brain, Apply, JIA, บ้านบัณฑิต, PEP, NEO ฟิสิกส์ ฯลฯ
? ไม่ได้กวดวิชา 49.71% 33.24% 41.47%
เพราะ ไม่มีทุนทรัพย์มากพอ, ไม่มีเวลา, ไม่มีความจำเป็น , สามารถอ่านหนังสือเองได้ ฯลฯ
3. ลำดับสถาบันที่ตั้งใจจะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ 26.42% 26.46% 26.44%
อันดับที่ 2 มหาวิทยาลัยเปิดของรัฐ 18.62% 24.27% 21.45%
อันดับที่ 3 มหาวิทยาลัยเอกชน 16.26% 17.27% 16.76%
อันดับที่ 4 สถาบันราชภัฏ 15.33% 13.49% 14.41%
อันดับที่ 5 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 14.17% 9.05% 11.61%
อันดับที่ 6 มหาวิทยาลัยต่างประเทศ 9.20% 9.46% 9.33%
4. ปัจจัยสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกสถาบัน
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เป็นสถาบันของรัฐ 14.05% 16.72% 15.38%
อันดับที่ 2 อาจารย์มีคุณภาพ 11.96% 13.50% 12.73%
อันดับที่ 3 หางานทำได้ง่าย 11.38% 12.03% 11.71%
อันดับที่ 4 มีชื่อเสียง 11.18% 11.96% 11.57%
อันดับที่ 5 ค่าเล่าเรียนถูก 11.71% 9.90% 10.81%
อันดับที่ 6 เรียนง่าย 8.55% 10.84% 9.69%
อันดับที่ 7 ใกล้บ้าน/เดินทางสะดวก 9.13% 7.26% 8.20%
อันดับที่ 8 การให้อิสระแก่ผู้เรียน 7.55% 7.70% 7.62%
อันดับที่ 9 มี IT ทันสมัย 7.55% 4.91% 6.23%
อันดับที่ 10 อาคาร/สถานที่น่าเรียน 7.08% 5.18% 6.13%
ฯลฯ
5. คำว่า “มหาวิทยาลัย” / “สถาบัน” / “วิทยาลัย” มีผลต่อการเลือกเรียนหรือไม่ ?
ชาย หญิง เฉลี่ย
? มี 53.18% 66.85% 60.02%
เพราะ สังคมยอมรับมหาวิทยาลัยมากกว่า,มีผลต่อการสมัครงาน,ระบบการศึกษาดีกว่า ฯลฯ
? ไม่มี 46.82% 33.15% 39.98%
เพราะ ทุกสถาบันให้ความรู้เท่าเทียมกัน,การเรียนขึ้นอยู่กับตัวบุคคลมากกว่า ฯลฯ
6. “จุดเด่น” และ “จุดด้อย” ของสถาบันอุดมศึกษาในทัศนะของเด็กไทย
ชาย หญิง เฉลี่ย
มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ
จุดเด่น อันดับที่ 1 มีชื่อเสียง 52.03% 53.80% 52.91%
อันดับที่ 2 ค่าเล่าเรียนถูก 26.83% 16.97% 21.90%
อันดับที่ 3 มีการแข่งขันในการสอบเข้า 13.01% 20.59% 16.80%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สอบเข้าเรียนยาก 57.53% 70.00% 63.76%
อันดับที่ 2 รับจำนวนจำกัด 31.51% 24.44% 27.98%
อันดับที่ 3 IT ไม่ทันสมัย 5.48% 5.56% 5.52%
มหาวิทยาลัยปิดของเอกชน
จุดเด่น อันดับที่ 1 IT ทันสมัย / เครื่องมือพร้อม 40.59% 20.79% 30.69%
อันดับที่ 2 มีชื่อเสียง 25.74% 33.66% 29.70%
อันดับที่ 3 เข้าเรียนได้ง่าย 24.75% 21.29% 23.02%
จุดด้อย อันดับที่ 1 ค่าเล่าเรียนแพง 95.83% 74.70% 85.26%
อันดับที่ 2 เรียนสำเร็จยาก 1.04% 9.09% 5.07%
มหาวิทยาลัยเปิด
ชาย หญิง เฉลี่ย
จุดเด่น อันดับที่ 1 เข้าเรียนง่าย 44.14% 63.64% 53.89%
อันดับที่ 2 มีอิสระในการเรียน 22.52% 17.05% 19.78%
อันดับที่ 3 รับนักศึกษาได้จำนวนมาก 18.03% 10.79% 14.41%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สำเร็จการศึกษายาก 59.27% 57.89% 58.58%
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยมีชื่อเสียง 24.07% 10.53% 17.30%
อันดับที่ 3 ไม่ได้ใช้ชีวิตนักศึกษาที่สมบูรณ์ 12.96% 11.28% 12.12%
สถาบันราชภัฏ
จุดเด่น อันดับที่ 1 เข้าเรียนง่ายกว่ามหาวิทยาลัย 50.79% 58.62% 54.71%
อันดับที่ 2 ค่าเล่าเรียนถูก 12.70% 22.41% 17.56%
อันดับที่ 3 รับนักศึกษาจำนวนมาก 17.46% 10.92% 14.19%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สำเร็จแล้วหางานยาก 30.95% 42.50% 36.72%
อันดับที่ 2 ยังไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ 42.86% 25.63% 34.24%
อันดับที่ 3 สถานที่ไม่ค่อยน่าเรียน 11.90% 18.75% 15.33%
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
จุดเด่น อันดับที่ 1 มีชื่อเสียงในด้านวิชาชีพ 44.26% 65.00% 54.63%
อันดับที่ 2 สำเร็จแล้วหางานง่าย 40.98% 16.25% 28.62%
อันดับที่ 3 มีชื่อเสียง 11.47% 8.75% 10.11%
จุดด้อย อันดับที่ 1 มีเรื่องทะเลาะวิวาทกันบ่อย 30.23% 32.48% 31.36%
อันดับที่ 2 คนรู้จักน้อย / ยังไม่เป็นที่ยอมรับ 39.54% 13.67% 26.61%
อันดับที่ 3 มีอาชีพรองรับได้น้อย / จำกัด 16.28% 21.37% 18.83%
7. สาขาที่อยากเรียนในระดับอุดมศึกษา
นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 วิศวกรรมศาสตร์ 16.43%
อันดับที่ 2 นิเทศศาสตร์ 15.71%
อันดับที่ 3 แพทยศาสตร์ 11.43%
อันดับที่ 4 นิติศาสตร์ 10.00%
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 8.57%
อันดับที่ 6 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 7.86%
อันดับที่ 6 บริหารธุรกิจ 7.86%
อันดับที่ 8 รัฐศาสตร์ 6.44%
อันดับที่ 9 สถาปัตยกรรม 5.71%
อันดับที่ 10 เศรษฐศาสตร์ 4.28%
นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 อักษรศาสตร์ 16.04%
อันดับที่ 2 สื่อสารมวลชน 15.02%
อันดับที่ 3 นิเทศศาสตร์ 8.87%
อันดับที่ 4 นิติศาสตร์ 8.19%
อันดับที่ 5 รัฐศาสตร์ 7.52%
อันดับที่ 6 วิทยาศาสตร์ 6.82%
อันดับที่ 7 แพทยศาสตร์ 6.14%
อันดับที่ 7 บริหารธุรกิจ 6.14%
อันดับที่ 9 บัญชี 5.12%
อันดับที่ 10 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 4.44%
8. สิ่งที่อยากให้รัฐบาลช่วยเหลือในการเรียนอุดมศึกษา
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ให้ทุนการศึกษา 31.03% 31.13% 31.08%
อันดับที่ 2 เพิ่มจำนวนรับนักศึกษาให้มากขึ้น 21.38% 22.34% 21.86%
อันดับที่ 3 ลดค่าเล่าเรียนให้ถูกลง 12.41% 17.58% 14.99%
อันดับที่ 4 เพิ่มมหาวิทยาลัยเปิดให้มากขึ้น 16.56% 12.45% 14.51%
อันดับที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาให้ดีขึ้น 11.72% 9.17% 10.45%
* อื่น ๆ เช่น เพิ่มสาขาวิชาให้มากขึ้น, ยกเลิกเอ็นทรานซ์
ระบบใหม่, ไม่ให้มีระบบเส้นสาย ฯลฯ 6.90% 7.33% 7.11%
--สวนดุสิตโพล--
1. ความตั้งใจที่จะสอบเอ็นทรานซ์
ชาย หญิง เฉลี่ย
? ตั้งใจมาก 38.73% 56.91% 47.82%
? ตั้งใจอยู่บ้าง 42.77% 36.17% 39.47%
? เรื่อย ๆ 14.45% 4.79% 9.62%
? คงไม่สอบ 4.05% 2.13% 3.09%
2. การกวดวิชาเพื่อเตรียมตัวสอบเอ็นทรานซ์
ชาย หญิง เฉลี่ย
? กวดวิชา 50.29% 66.76% 58.53%
โดยกวดวิชาที่ เคมีครูอุ๊ , The Brain, Apply, JIA, บ้านบัณฑิต, PEP, NEO ฟิสิกส์ ฯลฯ
? ไม่ได้กวดวิชา 49.71% 33.24% 41.47%
เพราะ ไม่มีทุนทรัพย์มากพอ, ไม่มีเวลา, ไม่มีความจำเป็น , สามารถอ่านหนังสือเองได้ ฯลฯ
3. ลำดับสถาบันที่ตั้งใจจะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ 26.42% 26.46% 26.44%
อันดับที่ 2 มหาวิทยาลัยเปิดของรัฐ 18.62% 24.27% 21.45%
อันดับที่ 3 มหาวิทยาลัยเอกชน 16.26% 17.27% 16.76%
อันดับที่ 4 สถาบันราชภัฏ 15.33% 13.49% 14.41%
อันดับที่ 5 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 14.17% 9.05% 11.61%
อันดับที่ 6 มหาวิทยาลัยต่างประเทศ 9.20% 9.46% 9.33%
4. ปัจจัยสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจเลือกสถาบัน
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 เป็นสถาบันของรัฐ 14.05% 16.72% 15.38%
อันดับที่ 2 อาจารย์มีคุณภาพ 11.96% 13.50% 12.73%
อันดับที่ 3 หางานทำได้ง่าย 11.38% 12.03% 11.71%
อันดับที่ 4 มีชื่อเสียง 11.18% 11.96% 11.57%
อันดับที่ 5 ค่าเล่าเรียนถูก 11.71% 9.90% 10.81%
อันดับที่ 6 เรียนง่าย 8.55% 10.84% 9.69%
อันดับที่ 7 ใกล้บ้าน/เดินทางสะดวก 9.13% 7.26% 8.20%
อันดับที่ 8 การให้อิสระแก่ผู้เรียน 7.55% 7.70% 7.62%
อันดับที่ 9 มี IT ทันสมัย 7.55% 4.91% 6.23%
อันดับที่ 10 อาคาร/สถานที่น่าเรียน 7.08% 5.18% 6.13%
ฯลฯ
5. คำว่า “มหาวิทยาลัย” / “สถาบัน” / “วิทยาลัย” มีผลต่อการเลือกเรียนหรือไม่ ?
ชาย หญิง เฉลี่ย
? มี 53.18% 66.85% 60.02%
เพราะ สังคมยอมรับมหาวิทยาลัยมากกว่า,มีผลต่อการสมัครงาน,ระบบการศึกษาดีกว่า ฯลฯ
? ไม่มี 46.82% 33.15% 39.98%
เพราะ ทุกสถาบันให้ความรู้เท่าเทียมกัน,การเรียนขึ้นอยู่กับตัวบุคคลมากกว่า ฯลฯ
6. “จุดเด่น” และ “จุดด้อย” ของสถาบันอุดมศึกษาในทัศนะของเด็กไทย
ชาย หญิง เฉลี่ย
มหาวิทยาลัยปิดของรัฐ
จุดเด่น อันดับที่ 1 มีชื่อเสียง 52.03% 53.80% 52.91%
อันดับที่ 2 ค่าเล่าเรียนถูก 26.83% 16.97% 21.90%
อันดับที่ 3 มีการแข่งขันในการสอบเข้า 13.01% 20.59% 16.80%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สอบเข้าเรียนยาก 57.53% 70.00% 63.76%
อันดับที่ 2 รับจำนวนจำกัด 31.51% 24.44% 27.98%
อันดับที่ 3 IT ไม่ทันสมัย 5.48% 5.56% 5.52%
มหาวิทยาลัยปิดของเอกชน
จุดเด่น อันดับที่ 1 IT ทันสมัย / เครื่องมือพร้อม 40.59% 20.79% 30.69%
อันดับที่ 2 มีชื่อเสียง 25.74% 33.66% 29.70%
อันดับที่ 3 เข้าเรียนได้ง่าย 24.75% 21.29% 23.02%
จุดด้อย อันดับที่ 1 ค่าเล่าเรียนแพง 95.83% 74.70% 85.26%
อันดับที่ 2 เรียนสำเร็จยาก 1.04% 9.09% 5.07%
มหาวิทยาลัยเปิด
ชาย หญิง เฉลี่ย
จุดเด่น อันดับที่ 1 เข้าเรียนง่าย 44.14% 63.64% 53.89%
อันดับที่ 2 มีอิสระในการเรียน 22.52% 17.05% 19.78%
อันดับที่ 3 รับนักศึกษาได้จำนวนมาก 18.03% 10.79% 14.41%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สำเร็จการศึกษายาก 59.27% 57.89% 58.58%
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยมีชื่อเสียง 24.07% 10.53% 17.30%
อันดับที่ 3 ไม่ได้ใช้ชีวิตนักศึกษาที่สมบูรณ์ 12.96% 11.28% 12.12%
สถาบันราชภัฏ
จุดเด่น อันดับที่ 1 เข้าเรียนง่ายกว่ามหาวิทยาลัย 50.79% 58.62% 54.71%
อันดับที่ 2 ค่าเล่าเรียนถูก 12.70% 22.41% 17.56%
อันดับที่ 3 รับนักศึกษาจำนวนมาก 17.46% 10.92% 14.19%
จุดด้อย อันดับที่ 1 สำเร็จแล้วหางานยาก 30.95% 42.50% 36.72%
อันดับที่ 2 ยังไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ 42.86% 25.63% 34.24%
อันดับที่ 3 สถานที่ไม่ค่อยน่าเรียน 11.90% 18.75% 15.33%
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
จุดเด่น อันดับที่ 1 มีชื่อเสียงในด้านวิชาชีพ 44.26% 65.00% 54.63%
อันดับที่ 2 สำเร็จแล้วหางานง่าย 40.98% 16.25% 28.62%
อันดับที่ 3 มีชื่อเสียง 11.47% 8.75% 10.11%
จุดด้อย อันดับที่ 1 มีเรื่องทะเลาะวิวาทกันบ่อย 30.23% 32.48% 31.36%
อันดับที่ 2 คนรู้จักน้อย / ยังไม่เป็นที่ยอมรับ 39.54% 13.67% 26.61%
อันดับที่ 3 มีอาชีพรองรับได้น้อย / จำกัด 16.28% 21.37% 18.83%
7. สาขาที่อยากเรียนในระดับอุดมศึกษา
นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 วิศวกรรมศาสตร์ 16.43%
อันดับที่ 2 นิเทศศาสตร์ 15.71%
อันดับที่ 3 แพทยศาสตร์ 11.43%
อันดับที่ 4 นิติศาสตร์ 10.00%
อันดับที่ 5 วิทยาศาสตร์ 8.57%
อันดับที่ 6 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 7.86%
อันดับที่ 6 บริหารธุรกิจ 7.86%
อันดับที่ 8 รัฐศาสตร์ 6.44%
อันดับที่ 9 สถาปัตยกรรม 5.71%
อันดับที่ 10 เศรษฐศาสตร์ 4.28%
นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 อักษรศาสตร์ 16.04%
อันดับที่ 2 สื่อสารมวลชน 15.02%
อันดับที่ 3 นิเทศศาสตร์ 8.87%
อันดับที่ 4 นิติศาสตร์ 8.19%
อันดับที่ 5 รัฐศาสตร์ 7.52%
อันดับที่ 6 วิทยาศาสตร์ 6.82%
อันดับที่ 7 แพทยศาสตร์ 6.14%
อันดับที่ 7 บริหารธุรกิจ 6.14%
อันดับที่ 9 บัญชี 5.12%
อันดับที่ 10 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 4.44%
8. สิ่งที่อยากให้รัฐบาลช่วยเหลือในการเรียนอุดมศึกษา
ชาย หญิง เฉลี่ย
อันดับที่ 1 ให้ทุนการศึกษา 31.03% 31.13% 31.08%
อันดับที่ 2 เพิ่มจำนวนรับนักศึกษาให้มากขึ้น 21.38% 22.34% 21.86%
อันดับที่ 3 ลดค่าเล่าเรียนให้ถูกลง 12.41% 17.58% 14.99%
อันดับที่ 4 เพิ่มมหาวิทยาลัยเปิดให้มากขึ้น 16.56% 12.45% 14.51%
อันดับที่ 5 พัฒนาระบบการศึกษาให้ดีขึ้น 11.72% 9.17% 10.45%
* อื่น ๆ เช่น เพิ่มสาขาวิชาให้มากขึ้น, ยกเลิกเอ็นทรานซ์
ระบบใหม่, ไม่ให้มีระบบเส้นสาย ฯลฯ 6.90% 7.33% 7.11%
--สวนดุสิตโพล--