"สวนดุสิตโพล" สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นประชาชนโดยแยกเป็น “ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา” และ
"ประชาชนทั่วไป” ในกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณี : การลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) โดยสำรวจจากกลุ่ม
ตัวอย่าง จำนวน 1,507 คน (ผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษา 470 คน 31.19 % ประชาชนทั่วไป 1,037 คน 68.81 %) สำรวจ
ระหว่างวันที่ 9 - 10 มิถุนายน 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. สาเหตุการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ “นพ.เกษม วัฒนชัย” ในทัศนะของประชาชน
ผู้เกี่ยวข้องกศ. ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความขัดแย้งนโยบายในการปฏิรูปการศึกษา 54.26% 21.32% 37.79%
อันดับที่ 2 การทำงานไม่เป็นอิสระ / ไม่เป็นตัวของตัวเอง / ถูกกดดัน 34.04% 31.97% 33.01%
อันดับที่ 3 การล้วงลูกของ นายกทักษิณ 5.86% 18.85% 12.35%อันดับที่ 4 สุขภาพไม่ดี 1.06% 11.47% 6.26%
* อื่นๆ เช่น ทนระบบการทำงานในกระทรวงฯไม่ได้ ฯลฯ 4.78% 16.39% 10.59%
2. การลาออกครั้งนี้ประชาชนคิดว่าเป็นสัญญาณของความขัดแย้งหรือแตกความสามัคคีในรัฐบาล
หรือไม่ ?
เป็นสัญญาณความแตกแยก 48.07% 68.03% 58.05%
เพราะ ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, นโยบายการปฏรูปการศึกษาไม่ต่อเนื่อง,ความขัดแย้งภายในพรรค ฯลฯ
ไม่เป็นสัญญาณของความแตกแยก 30.94% 17.22% 24.08%
เพราะ เป็นความขัดแย้งทางความคิด, เป็นเรื่องเฉพาะจุดไม่มีผลต่อเนื่อง ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 20.99% 14.75% 17.87%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด, การลาออกเกิดขึ้นได้ ในภาวะกดดัน ฯลฯ
3. นายกทักษิณ ควรยับยั้งการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) หรือไม่ ?
ควรยับยั้ง 76.19% 69.87% 73.03%
เพราะ เป็นผู้มีคุณภาพทางด้านการศึกษา,การทำงานควรทำอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
ไม่ควรยับยั้ง 23.81% 30.13% 26.97%
เพราะ การทำงานควรมีความอิสระ, อาจมีผู้อื่นที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกว่า ฯลฯ
4. ประชาชนคิดว่าการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) มีผลกระทบต่อสถานภาพของ
รัฐบาลหรือไม่ ?
ผู้เกี่ยวข้องกศ. ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
มีผลทำให้คะแนนนิยมรัฐบาลตก 53.23% 50.40% 51.82%
เพราะ เป็นการแตกแยกภายในรัฐบาลเอง,ทำให้การศึกษาพัฒนาไม่ต่อเนื่อง,ขาดศักยภาพความเป็นผู้นำ ฯลฯ
ไม่มีผล 33.87% 39.84% 36.86%
เพราะ มีผู้ที่มีความรู้ความสามารถหลายคน, เป็นปัญหาเฉพาะตัวบุคคล, เป็นธรรมชาติของการทำงาน ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 12.90% 9.76% 11.32%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจน, นายกควรหาคนที่เหมาะสมมาแทน ฯลฯ
5. ใคร ? ควรจะมาเป็น รมว.ศึกษาธิการ แทนจาก นพ.เกษม วัฒนชัย
อันดับที่ 1 ดร.รุ่ง แก้วแดง 53.12% 64.28% 58.70%
อันดับที่ 2 จำลอง ครุฑขุนทด 25.01% 8.93% 16.97%
อันดับที่ 2 ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 12.50% 21.43% 16.97%
อันดับที่ 4 นพ.กระแส ชนะวงศ์ 6.26% 3.57% 4.92%
อันดับที่ 5 โสภณ สุภาพงศ์ 3.11% 1.79% 2.44%
6. การปฏิรูปการศึกษาที่มีความขัดแย้งในปัจจุบัน ทำอย่างไร ? จึงจะสำเร็จ
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายควรร่วมมือกันอย่างจริงจัง 52.84% 52.93% 52.88%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารควรมีความตั้งใจจริงในการปฏิรูป/อย่างหวงอำนาจ 20.33% 14.71% 17.52%
อันดับที่ 3 ต้องปฏิรูปตัวครูก่อน 11.38% 17.65% 14.51%
อันดับที่ 4 ควรมีหลักการ/ ทำตามแผนที่ได้กำหนดไว้ 7.32% 10.29% 8.81%
อันดับที่ 5 รัฐบาลต้องรับฟังและประเมินผลตามสภาพจริง 5.68% 2.96% 4.32%
* อื่น ๆ เช่น ควรจัดทำประชาพิจารณ์,ให้อิสระและกล้าตัดสินใจ ฯลฯ 2.45% 1.46% 1.96%
--สวนดุสิตโพล--
"ประชาชนทั่วไป” ในกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณี : การลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) โดยสำรวจจากกลุ่ม
ตัวอย่าง จำนวน 1,507 คน (ผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษา 470 คน 31.19 % ประชาชนทั่วไป 1,037 คน 68.81 %) สำรวจ
ระหว่างวันที่ 9 - 10 มิถุนายน 2544 สรุปผลได้ดังนี้
1. สาเหตุการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ “นพ.เกษม วัฒนชัย” ในทัศนะของประชาชน
ผู้เกี่ยวข้องกศ. ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความขัดแย้งนโยบายในการปฏิรูปการศึกษา 54.26% 21.32% 37.79%
อันดับที่ 2 การทำงานไม่เป็นอิสระ / ไม่เป็นตัวของตัวเอง / ถูกกดดัน 34.04% 31.97% 33.01%
อันดับที่ 3 การล้วงลูกของ นายกทักษิณ 5.86% 18.85% 12.35%อันดับที่ 4 สุขภาพไม่ดี 1.06% 11.47% 6.26%
* อื่นๆ เช่น ทนระบบการทำงานในกระทรวงฯไม่ได้ ฯลฯ 4.78% 16.39% 10.59%
2. การลาออกครั้งนี้ประชาชนคิดว่าเป็นสัญญาณของความขัดแย้งหรือแตกความสามัคคีในรัฐบาล
หรือไม่ ?
เป็นสัญญาณความแตกแยก 48.07% 68.03% 58.05%
เพราะ ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, นโยบายการปฏรูปการศึกษาไม่ต่อเนื่อง,ความขัดแย้งภายในพรรค ฯลฯ
ไม่เป็นสัญญาณของความแตกแยก 30.94% 17.22% 24.08%
เพราะ เป็นความขัดแย้งทางความคิด, เป็นเรื่องเฉพาะจุดไม่มีผลต่อเนื่อง ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 20.99% 14.75% 17.87%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด, การลาออกเกิดขึ้นได้ ในภาวะกดดัน ฯลฯ
3. นายกทักษิณ ควรยับยั้งการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) หรือไม่ ?
ควรยับยั้ง 76.19% 69.87% 73.03%
เพราะ เป็นผู้มีคุณภาพทางด้านการศึกษา,การทำงานควรทำอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
ไม่ควรยับยั้ง 23.81% 30.13% 26.97%
เพราะ การทำงานควรมีความอิสระ, อาจมีผู้อื่นที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกว่า ฯลฯ
4. ประชาชนคิดว่าการลาออกของ รมว.ศึกษาธิการ (นพ.เกษม วัฒนชัย) มีผลกระทบต่อสถานภาพของ
รัฐบาลหรือไม่ ?
ผู้เกี่ยวข้องกศ. ประชาชนทั่วไป ภาพรวม
มีผลทำให้คะแนนนิยมรัฐบาลตก 53.23% 50.40% 51.82%
เพราะ เป็นการแตกแยกภายในรัฐบาลเอง,ทำให้การศึกษาพัฒนาไม่ต่อเนื่อง,ขาดศักยภาพความเป็นผู้นำ ฯลฯ
ไม่มีผล 33.87% 39.84% 36.86%
เพราะ มีผู้ที่มีความรู้ความสามารถหลายคน, เป็นปัญหาเฉพาะตัวบุคคล, เป็นธรรมชาติของการทำงาน ฯลฯ
ไม่แน่ใจ 12.90% 9.76% 11.32%
เพราะ ยังไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจน, นายกควรหาคนที่เหมาะสมมาแทน ฯลฯ
5. ใคร ? ควรจะมาเป็น รมว.ศึกษาธิการ แทนจาก นพ.เกษม วัฒนชัย
อันดับที่ 1 ดร.รุ่ง แก้วแดง 53.12% 64.28% 58.70%
อันดับที่ 2 จำลอง ครุฑขุนทด 25.01% 8.93% 16.97%
อันดับที่ 2 ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ 12.50% 21.43% 16.97%
อันดับที่ 4 นพ.กระแส ชนะวงศ์ 6.26% 3.57% 4.92%
อันดับที่ 5 โสภณ สุภาพงศ์ 3.11% 1.79% 2.44%
6. การปฏิรูปการศึกษาที่มีความขัดแย้งในปัจจุบัน ทำอย่างไร ? จึงจะสำเร็จ
อันดับที่ 1 ทุกฝ่ายควรร่วมมือกันอย่างจริงจัง 52.84% 52.93% 52.88%
อันดับที่ 2 ผู้บริหารควรมีความตั้งใจจริงในการปฏิรูป/อย่างหวงอำนาจ 20.33% 14.71% 17.52%
อันดับที่ 3 ต้องปฏิรูปตัวครูก่อน 11.38% 17.65% 14.51%
อันดับที่ 4 ควรมีหลักการ/ ทำตามแผนที่ได้กำหนดไว้ 7.32% 10.29% 8.81%
อันดับที่ 5 รัฐบาลต้องรับฟังและประเมินผลตามสภาพจริง 5.68% 2.96% 4.32%
* อื่น ๆ เช่น ควรจัดทำประชาพิจารณ์,ให้อิสระและกล้าตัดสินใจ ฯลฯ 2.45% 1.46% 1.96%
--สวนดุสิตโพล--