“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต ได้ดำเนินการประเมินผลการอภิปรายเชิงวิเคราะห์ในลักษณะ
Focus Groups ในสถานการณ์จริง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 54 คน เฝ้าติดตามชมการถ่ายทอดสด การอภิปรายไม่ไว้
วางใจ ในวันที่ 27 มิถุนายน 2548 (เวลา 9.30— 17.30 น.) สรุปผลได้ดังนี้
ข้อ ประเด็นในการพิจารณา รายชื่อผู้อภิปราย (ช่วงที่ 1 เวลา 9.30 — 17.30 น.)
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายเกียรติ สิทธีอมร นายอลงกรณ์ พลบุตร นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
1 เนื้อหาที่นำมาอภิปรายตรงประเด็น 9.26 8.23 8.65 8.48 7.25
2 หลักฐาน เอกสารที่นำมาประกอบในการอภิปราย 8.56 6.79 8.12 7.52 7.70
3 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ 8.88 7.59 8.03 8.03 7.93
4 ลีลา รูปแบบในการอภิปราย 8.82 7.38 7.78 8.27 7.18
5 ความเหมาะสมของถ้อยคำที่ใช้ในการอภิปราย 9.26 7.77 8.41 8.00 7.79
6 การใช้เวลา /การควบคุมเวลา 8.81 8.96 7.81 8.86 7.81
7 ความเคารพในกติกา มารยาทในที่ประชุม 9.41 9.07 8.94 8.70 8.71
8 การควบคุมอารมณ์ในขณะที่กำลังอภิปราย 9.53 8.60 9.09 8.37 8.53
9 ผู้อภิปรายมีความเหมาะสมกับประเด็นที่อภิปราย (ฝ่ายค้าน) 9.36 8.14 8.50 8.41 -
การชี้แจงประเด็นได้อย่างชัดเจน/ตรงประเด็น (ฝ่ายรัฐบาล) - - - - 6.96
10 ประโยชน์ที่ได้รับจากการอภิปราย 9.23 8.00 8.61 8.61 7.63
รวมคะแนนเต็ม 100 91.12 80.53 83.94 83.25 77.49
“จุดเด่น” ในการอภิปราย แม่นในเรื่องข้อมูล อภิปรายได้ตรงประเด็น/ ข้อมูลชัดเจนรู้รายละเอียด อภิปรายตรงประเด็นโดยเฉพาะ มีการชี้แจงอย่างละเอียด
พูดจาฉะฉาน ควบคุมเวลาได้ดี เกี่ยวกับกฎหมายอย่างดี เรื่องของขั้นตอนการจัดซื้อ มีเหตุผลและมีหลักฐานเพียงพอ
“จุดด้อย” ในการอภิปราย ใช้เวลามากเกินไป พูดเร็วเกินไปฟังไม่รู้เรื่อง ข้อมูลวกไปวนมา ซ้ำซาก หลักฐานอ้างอิงยังน้อยเกินไป พูดตะกุกตะกัก พูดผิดบ่อย
ก่อนจะเข้าประเด็น
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
Focus Groups ในสถานการณ์จริง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 54 คน เฝ้าติดตามชมการถ่ายทอดสด การอภิปรายไม่ไว้
วางใจ ในวันที่ 27 มิถุนายน 2548 (เวลา 9.30— 17.30 น.) สรุปผลได้ดังนี้
ข้อ ประเด็นในการพิจารณา รายชื่อผู้อภิปราย (ช่วงที่ 1 เวลา 9.30 — 17.30 น.)
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายบรรหาร ศิลปอาชา นายเกียรติ สิทธีอมร นายอลงกรณ์ พลบุตร นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ
1 เนื้อหาที่นำมาอภิปรายตรงประเด็น 9.26 8.23 8.65 8.48 7.25
2 หลักฐาน เอกสารที่นำมาประกอบในการอภิปราย 8.56 6.79 8.12 7.52 7.70
3 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ 8.88 7.59 8.03 8.03 7.93
4 ลีลา รูปแบบในการอภิปราย 8.82 7.38 7.78 8.27 7.18
5 ความเหมาะสมของถ้อยคำที่ใช้ในการอภิปราย 9.26 7.77 8.41 8.00 7.79
6 การใช้เวลา /การควบคุมเวลา 8.81 8.96 7.81 8.86 7.81
7 ความเคารพในกติกา มารยาทในที่ประชุม 9.41 9.07 8.94 8.70 8.71
8 การควบคุมอารมณ์ในขณะที่กำลังอภิปราย 9.53 8.60 9.09 8.37 8.53
9 ผู้อภิปรายมีความเหมาะสมกับประเด็นที่อภิปราย (ฝ่ายค้าน) 9.36 8.14 8.50 8.41 -
การชี้แจงประเด็นได้อย่างชัดเจน/ตรงประเด็น (ฝ่ายรัฐบาล) - - - - 6.96
10 ประโยชน์ที่ได้รับจากการอภิปราย 9.23 8.00 8.61 8.61 7.63
รวมคะแนนเต็ม 100 91.12 80.53 83.94 83.25 77.49
“จุดเด่น” ในการอภิปราย แม่นในเรื่องข้อมูล อภิปรายได้ตรงประเด็น/ ข้อมูลชัดเจนรู้รายละเอียด อภิปรายตรงประเด็นโดยเฉพาะ มีการชี้แจงอย่างละเอียด
พูดจาฉะฉาน ควบคุมเวลาได้ดี เกี่ยวกับกฎหมายอย่างดี เรื่องของขั้นตอนการจัดซื้อ มีเหตุผลและมีหลักฐานเพียงพอ
“จุดด้อย” ในการอภิปราย ใช้เวลามากเกินไป พูดเร็วเกินไปฟังไม่รู้เรื่อง ข้อมูลวกไปวนมา ซ้ำซาก หลักฐานอ้างอิงยังน้อยเกินไป พูดตะกุกตะกัก พูดผิดบ่อย
ก่อนจะเข้าประเด็น
--สวนดุสิตโพล--
-พห-