"สวนดุสิตโพล" มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของนักเรียน ม.6 ทั่วประเทศเกี่ยว
กับการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา โดยสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 3,143 คน (ชาย 1,652 คน
52.56% หญิง 1,491 คน 47.44%) ระหว่างวันที่ 3 — 10 มกราคม 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ปัจจัย” ที่มีผลต่อการเลือกสถานศึกษา ของ นักเรียน ม.6
อันดับที่ 1 เป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน 86.77%
อันดับที่ 2 มีหลากหลายสาขาให้เลือกเรียน 86.00%
อันดับที่ 3 มีชื่อเสียง 84.85%
อันดับที่ 4 สถานที่น่าเรียน 82.38%
อันดับที่ 4 ค่าใช้จ่ายไม่แพง 82.38%
อันดับที่ 6 มีสื่อวัสดุอุปกรณ์ทันสมัย 79.31%
อันดับที่ 7 ใกล้บ้าน/เดินทางสะดวก 78.54%
อันดับที่ 8 เรียนแล้วมีโอกาสจบได้ง่าย 76.15%
อันดับที่ 9 เป็นความต้องการของผู้ปกครอง 71.54%
อันดับที่ 10 ครู/อาจารย์แนะนำ 62.54%
อันดับที่ 11 เพื่อน/แฟน แนะนำ 57.69%
อันดับที่ 12 รุ่นพี่แนะนำ 56.23%
2. “ความแตกต่าง” ระหว่าง การเลือกเรียนต่อในอดีต กับ ปัจจุบัน ในทัศนะของนักเรียนม.6
อันดับที่ 1 แตกต่างกัน 77.76%
คือ ปัจจุบันมีสาขาต่างๆ มากกว่าทำให้มีโอกาสเลือกได้มากขึ้น, สมัยนี้เลือกเรียนตามความถนัด, มีสื่อ
อุปกรณ์ต่างๆมากกว่าในปัจจุบัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แตกต่างกัน 20.24%
คือ ต้องเลือกสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงและสามารถหางานได้ง่าย, เลือกในสิ่งที่ชอบและสนใจ, ใช้ความรู้
เหมือนกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 2.00%
3. “สาขาวิชา” ที่นักเรียนจะเลือกเรียนต่อ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 นิติศาสตร์ 13.75%
อันดับที่ 2 วิศวกรรม 12.08%
อันดับที่ 3 รัฐศาสตร์ 8.75%
อันดับที่ 4 บริหารธุรกิจ 7.92%
อันดับที่ 5 นิเทศศาสตร์ 7.50%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 บริหารธุรกิจ 11.44%
อันดับที่ 2 นิเทศศาสตร์ 8.46%
อันดับที่ 3 บัญชี 5.97%
อันดับที่ 3 มนุษยศาสตร์และสังคม 5.97%
อันดับที่ 5 แพทย์ศาสตร์ 4.48%
อันดับที่ 5 อักษรศาสตร์ 4.48%
4. “ปัจจัย” ที่มีผลต่อการเลือกสาขาวิชาที่เรียนต่อ
อันดับที่ 1 วิชาที่ชอบ 96.11%
อันดับที่ 2 วิชาที่ทันสมัย 79.22%
อันดับที่ 3 เรียนง่าย 78.44%
อันดับที่ 4 วิชาที่ผู้ปกครองแนะนำ 72.00%
อันดับที่ 5 วิชาที่ครูแนะแนวแนะนำ 68.00%
อันดับที่ 6 วิชาที่มีผู้นิยมเรียน 67.56%
อันดับที่ 7 วิชาที่รุ่นพี่แนะนำ 61.22%
อันดับที่ 8 วิชาที่เพื่อนแนะนำ 56.78%
5. สาขาวิชาที่ นักเรียนคิดว่าเลือกเรียนต่อแล้วจะสามารถ “หางานทำได้ง่าย” ในปัจจุบัน คือ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 แพทย์ศาสตร์ 18.53%
อันดับที่ 2 บัญชี 11.64%
อันดับที่ 3 บริหารธุรกิจ 8.19%
อันดับที่ 4 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 8.62%
อันดับที่ 5 นิติศาสตร์ 9.48%
อันดับที่ 5 วิศวกรรม 9.48%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 แพทย์ศาสตร์ 15.12%
อันดับที่ 2 บัญชี 15.61%
อันดับที่ 3 บริหารธุรกิจ 15.12%
อันดับที่ 4 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 11.71%
อันดับที่ 5 นิเทศศาสตร์ 4.88%
6 “งานหรืออาชีพ” ที่นักเรียนอยากจะทำคือ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 งานธุรกิจส่วนตัว / นักธุรกิจ 20.16%
อันดับที่ 2 วิศวกร 12.02%
อันดับที่ 3 อัยการ/ ทนาย / ผู้พิพากษา 8.14%
อันดับที่ 4 เว็บ ดีไซด์เนอร์ 6.59%
อันดับที่ 5 แพทย์/พยาบาล 4.65%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 งานธุรกิจส่วนตัว / นักธุรกิจ 14.21%
อันดับที่ 2 แอร์ / นักบิน 7.89%
อันดับที่ 3 แพทย์/พยาบาล 7.37%
อันดับที่ 4 มัคคุเทศก์ 6.84%
อันดับที่ 5 นักบัญชี 6.32%
7. “องค์กร/ บริษัท /หน่วยงาน” ที่นักเรียนอยากเข้าทำงานด้วยมากที่สุด คือ
อันดับที่ 1 บริษัทเอกชน 36.36%
อันดับที่ 2 ราชการ 14.81%
อันดับที่ 3 โรงพยาบาล 7.07%
อันดับที่ 4 การบินไทย หรือ สายการบิน 6.73%
อันดับที่ 5 บริษัทเกี่ยวกับโทรคมนาคม (เช่น AIS,DTAC,TRUE) 5.72%
8. “แหล่งข้อมูล” ที่นักเรียนใช้ในการหาข้อมูลเพื่อเลือกสถานศึกษา
อันดับที่ 1 ครูแนะแนว 85.55%
อันดับที่ 2 การประชาสัมพันธ์ของสถานศึกษา 85.00%
อันดับที่ 3 การเข้าไปให้คำแนะนำในโรงเรียน 80.64%
อันดับที่ 4 ผู้ปกครอง/ญาติ 78.82%
อันดับที่ 5 ผู้ที่จบจากสถาบันนั้นไปแล้ว 78.27%
อันดับที่ 6 สื่อโทรทัศน์ 73.00%
อันดับที่ 7 แผ่นพับ/ใบปลิว 72.73%
อันดับที่ 8 ป้ายโฆษณา/คัดเอาท์ 68.73%
อันดับที่ 9 สื่อสิ่งพิมพ์ 68.45%
อันดับที่ 10 วิทยุ 60.27%
9. นักเรียนมี “ความคิดเห็นต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ”อย่างไร?
- จุดเด่น
อันดับที่ 1 สามารถเข้าเรียนได้ง่าย เปิดโอกาสให้ผู้สนใจจริง 48.40%
อันดับที่ 2 รับนักศึกษาจำนวนมาก 8.45%
อันดับที่ 3 เน้นแหล่งการศึกษาที่มีคุณภาพดี สามารถพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว 6.41%
อันดับที่ 4 มีคณะให้เลือกมากพอสมควร 6.41%
อันดับที่ 5 หางานทำได้ง่าย 4.96%
- จุดอ่อน
อันดับที่ 1 ตลาดงานไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ/ จบแล้วหางานทำยาก 53.51%
อันดับที่ 2 คุณภาพนักศึกษายังไม่เป็นที่ยอมรับ 13.71%
อันดับที่ 3 ทางด้านวิชาการยังไม่เด่นชัดเท่ามหาวิทยาลัยอื่นๆ 8.70%
อันดับที่ 4 นักศึกษามากเกินไป 5.02%
อันดับที่ 5 เกิดค่านิยมมหาวิทยาลัยของรัฐบาลมากกว่าราชภัฏ 4.01%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
กับการเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา โดยสำรวจจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 3,143 คน (ชาย 1,652 คน
52.56% หญิง 1,491 คน 47.44%) ระหว่างวันที่ 3 — 10 มกราคม 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ปัจจัย” ที่มีผลต่อการเลือกสถานศึกษา ของ นักเรียน ม.6
อันดับที่ 1 เป็นที่ยอมรับของตลาดแรงงาน 86.77%
อันดับที่ 2 มีหลากหลายสาขาให้เลือกเรียน 86.00%
อันดับที่ 3 มีชื่อเสียง 84.85%
อันดับที่ 4 สถานที่น่าเรียน 82.38%
อันดับที่ 4 ค่าใช้จ่ายไม่แพง 82.38%
อันดับที่ 6 มีสื่อวัสดุอุปกรณ์ทันสมัย 79.31%
อันดับที่ 7 ใกล้บ้าน/เดินทางสะดวก 78.54%
อันดับที่ 8 เรียนแล้วมีโอกาสจบได้ง่าย 76.15%
อันดับที่ 9 เป็นความต้องการของผู้ปกครอง 71.54%
อันดับที่ 10 ครู/อาจารย์แนะนำ 62.54%
อันดับที่ 11 เพื่อน/แฟน แนะนำ 57.69%
อันดับที่ 12 รุ่นพี่แนะนำ 56.23%
2. “ความแตกต่าง” ระหว่าง การเลือกเรียนต่อในอดีต กับ ปัจจุบัน ในทัศนะของนักเรียนม.6
อันดับที่ 1 แตกต่างกัน 77.76%
คือ ปัจจุบันมีสาขาต่างๆ มากกว่าทำให้มีโอกาสเลือกได้มากขึ้น, สมัยนี้เลือกเรียนตามความถนัด, มีสื่อ
อุปกรณ์ต่างๆมากกว่าในปัจจุบัน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แตกต่างกัน 20.24%
คือ ต้องเลือกสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงและสามารถหางานได้ง่าย, เลือกในสิ่งที่ชอบและสนใจ, ใช้ความรู้
เหมือนกัน ฯลฯ
* ไม่ระบุ 2.00%
3. “สาขาวิชา” ที่นักเรียนจะเลือกเรียนต่อ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 นิติศาสตร์ 13.75%
อันดับที่ 2 วิศวกรรม 12.08%
อันดับที่ 3 รัฐศาสตร์ 8.75%
อันดับที่ 4 บริหารธุรกิจ 7.92%
อันดับที่ 5 นิเทศศาสตร์ 7.50%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 บริหารธุรกิจ 11.44%
อันดับที่ 2 นิเทศศาสตร์ 8.46%
อันดับที่ 3 บัญชี 5.97%
อันดับที่ 3 มนุษยศาสตร์และสังคม 5.97%
อันดับที่ 5 แพทย์ศาสตร์ 4.48%
อันดับที่ 5 อักษรศาสตร์ 4.48%
4. “ปัจจัย” ที่มีผลต่อการเลือกสาขาวิชาที่เรียนต่อ
อันดับที่ 1 วิชาที่ชอบ 96.11%
อันดับที่ 2 วิชาที่ทันสมัย 79.22%
อันดับที่ 3 เรียนง่าย 78.44%
อันดับที่ 4 วิชาที่ผู้ปกครองแนะนำ 72.00%
อันดับที่ 5 วิชาที่ครูแนะแนวแนะนำ 68.00%
อันดับที่ 6 วิชาที่มีผู้นิยมเรียน 67.56%
อันดับที่ 7 วิชาที่รุ่นพี่แนะนำ 61.22%
อันดับที่ 8 วิชาที่เพื่อนแนะนำ 56.78%
5. สาขาวิชาที่ นักเรียนคิดว่าเลือกเรียนต่อแล้วจะสามารถ “หางานทำได้ง่าย” ในปัจจุบัน คือ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 แพทย์ศาสตร์ 18.53%
อันดับที่ 2 บัญชี 11.64%
อันดับที่ 3 บริหารธุรกิจ 8.19%
อันดับที่ 4 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 8.62%
อันดับที่ 5 นิติศาสตร์ 9.48%
อันดับที่ 5 วิศวกรรม 9.48%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 แพทย์ศาสตร์ 15.12%
อันดับที่ 2 บัญชี 15.61%
อันดับที่ 3 บริหารธุรกิจ 15.12%
อันดับที่ 4 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 11.71%
อันดับที่ 5 นิเทศศาสตร์ 4.88%
6 “งานหรืออาชีพ” ที่นักเรียนอยากจะทำคือ
- นักเรียนชาย
อันดับที่ 1 งานธุรกิจส่วนตัว / นักธุรกิจ 20.16%
อันดับที่ 2 วิศวกร 12.02%
อันดับที่ 3 อัยการ/ ทนาย / ผู้พิพากษา 8.14%
อันดับที่ 4 เว็บ ดีไซด์เนอร์ 6.59%
อันดับที่ 5 แพทย์/พยาบาล 4.65%
- นักเรียนหญิง
อันดับที่ 1 งานธุรกิจส่วนตัว / นักธุรกิจ 14.21%
อันดับที่ 2 แอร์ / นักบิน 7.89%
อันดับที่ 3 แพทย์/พยาบาล 7.37%
อันดับที่ 4 มัคคุเทศก์ 6.84%
อันดับที่ 5 นักบัญชี 6.32%
7. “องค์กร/ บริษัท /หน่วยงาน” ที่นักเรียนอยากเข้าทำงานด้วยมากที่สุด คือ
อันดับที่ 1 บริษัทเอกชน 36.36%
อันดับที่ 2 ราชการ 14.81%
อันดับที่ 3 โรงพยาบาล 7.07%
อันดับที่ 4 การบินไทย หรือ สายการบิน 6.73%
อันดับที่ 5 บริษัทเกี่ยวกับโทรคมนาคม (เช่น AIS,DTAC,TRUE) 5.72%
8. “แหล่งข้อมูล” ที่นักเรียนใช้ในการหาข้อมูลเพื่อเลือกสถานศึกษา
อันดับที่ 1 ครูแนะแนว 85.55%
อันดับที่ 2 การประชาสัมพันธ์ของสถานศึกษา 85.00%
อันดับที่ 3 การเข้าไปให้คำแนะนำในโรงเรียน 80.64%
อันดับที่ 4 ผู้ปกครอง/ญาติ 78.82%
อันดับที่ 5 ผู้ที่จบจากสถาบันนั้นไปแล้ว 78.27%
อันดับที่ 6 สื่อโทรทัศน์ 73.00%
อันดับที่ 7 แผ่นพับ/ใบปลิว 72.73%
อันดับที่ 8 ป้ายโฆษณา/คัดเอาท์ 68.73%
อันดับที่ 9 สื่อสิ่งพิมพ์ 68.45%
อันดับที่ 10 วิทยุ 60.27%
9. นักเรียนมี “ความคิดเห็นต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ”อย่างไร?
- จุดเด่น
อันดับที่ 1 สามารถเข้าเรียนได้ง่าย เปิดโอกาสให้ผู้สนใจจริง 48.40%
อันดับที่ 2 รับนักศึกษาจำนวนมาก 8.45%
อันดับที่ 3 เน้นแหล่งการศึกษาที่มีคุณภาพดี สามารถพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว 6.41%
อันดับที่ 4 มีคณะให้เลือกมากพอสมควร 6.41%
อันดับที่ 5 หางานทำได้ง่าย 4.96%
- จุดอ่อน
อันดับที่ 1 ตลาดงานไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับ/ จบแล้วหางานทำยาก 53.51%
อันดับที่ 2 คุณภาพนักศึกษายังไม่เป็นที่ยอมรับ 13.71%
อันดับที่ 3 ทางด้านวิชาการยังไม่เด่นชัดเท่ามหาวิทยาลัยอื่นๆ 8.70%
อันดับที่ 4 นักศึกษามากเกินไป 5.02%
อันดับที่ 5 เกิดค่านิยมมหาวิทยาลัยของรัฐบาลมากกว่าราชภัฏ 4.01%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-