จากข่าวการระเบิดในกรุงลอนดอนรอบใหม่ ซึ่งสร้างความวิตกกังวลให้กับทุกฝ่าย ถึงผลกระทบที่เกิด
ขึ้น “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ
และปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,078 คน โดยสำรวจระหว่างวันที่ 22 — 23 กรกฎาคม 2548 (ชาย 441
คน 40.91 % หญิง 637 คน 59.09 % ) สรุปผลได้ดังนี้สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าจะมีการระเบิด เกิดขึ้นที่กรุงลอนดอน อีกหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีแน่นอน 39.68% 42.74% 41.21%
เพราะ ยังไม่มีระบบหรือมาตรการในการป้องกัน, ยังไม่สามารถจับกุมต้นตอของผู้กระทำผิดได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.59% 19.90% 24.25%
เพราะ อะไรก็เกิดขึ้นได้, ยังไม่รู้ถึงเป้าหมายที่แน่นอนของผู้กระทำ, เหตุการณ์ยังไม่รุนแรงเท่าอเมริกา ฯลฯ
อันดับที่ 3 อาจจะมี 23.80% 23.08% 23.44%
เพราะ เป็นประเทศมหาอำนาจเหมือนอเมริกา, เป็นประเทศเป้าหมาย, ยังไม่ได้รับความเสียหายมากเหมือนอเมริกา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีแน่นอน 7.93% 14.28% 11.10%
เพราะ เกิดขึ้นถึง 2 ครั้งแล้ว, น่าจะมีการเปลี่ยนเป้าหมายในการโจมตี ฯลฯ
2. “ประชาชน” คิดว่า เหตุการณ์ระเบิดที่กรุงลอนดอน มีผลกระทบต่อประเทศไทยหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลกระทบ 55.56% 51.65% 53.61%
เพราะ เศรษฐกิจของประเทศไม่ดี,มีคนไทยในลอนดอนมากอาจได้รับความเดือดร้อน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 23.81% 31.87% 27.84%
เพราะ ยังไม่รู้ว่าเป็นคนกลุ่มไหน,อาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของทั่วโลก,อาจจะเพียงการสร้างสถานการณ์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มีผลกระทบ 20.63% 16.48% 18.55%
เพราะ ไม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, อยู่ห่างกันไม่น่าจะเกิดขึ้น, ไม่ใช่เป้าหมายของผู้ก่อการร้าย ฯลฯ
3. จากเหตุการณ์ระเบิดที่กรุงลอนดอน ประชาชนมีความวิตกกังวลว่าจะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวในประเทศไทย หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 วิตกกังวล 34.92% 27.47% 31.20%
เพราะ เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ, อาจโยงไปถึงสถานการณ์ทางภาคใต้, ไทยยังไม่มีมาตรการป้องกันที่ดีพอ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยวิตกกังวล 23.81% 30.76% 27.28%
เพราะ ไทยไม่ใช่เป้าหมายสำคัญ, ไม่เคยสร้างศัตรูและไม่เคยใช้ความรุนแรงกับใคร, มีมาตรการป้องกันที่ดีฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างวิตกกังวล 22.22% 29.68% 25.95%
เพราะ อาจจะมีการสร้างสถานการณ์, ผู้ก่อการร้ายอาจหลบหนี้เข้ามาไทยได้,อาจมีการแทรกแซงในภาคใต้ ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่วิตกกังวล 19.05% 12.09% 15.57%
เพราะ รัฐบาลและเจ้าหน้าที่บ้านเมืองต้องป้องกันและวางมาตรการไว้ดีแล้ว, ไม่ใช่ประเทศมหาอำนาจ ฯลฯ
4. “ประชาชน” อยากให้รัฐบาลมีมาตรการที่เป็นรูปธรรม เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ในประเทศไทยดังนี้
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ดูแลสถานที่สำคัญและบริเวณที่มีผู้คนอยู่มาก อย่างเข้มงวด 39.58% 42.85% 41.22%
อันดับที่ 2 มีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเข้มงวด มีอุปกรณ์ที่มีความทันสมัยในการ
ตรวจจับอาวุธที่ผิดกฎหมาย, วัตถุระเบิดได้ 20.83% 27.27% 24.05%
อันดับที่ 3 มีมาตรการในการตรวจคนเข้า — ออกประเทศอย่างรัดกุมและเข้มงวด 16.67% 11.71% 14.19%
อันดับที่ 4 หน่วยข่าวกรองควรมีการตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียด มีการสืบหาข้อมูล
ข่าวสารความมั่นคงของประเทศอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 12.50% 10.38% 11.44%
อันดับที่ 5 ทุกฝ่ายร่วมมือกันสอดส่องดูแล และ ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น 10.42% 7.79% 9.10%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ขึ้น “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯ
และปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,078 คน โดยสำรวจระหว่างวันที่ 22 — 23 กรกฎาคม 2548 (ชาย 441
คน 40.91 % หญิง 637 คน 59.09 % ) สรุปผลได้ดังนี้สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าจะมีการระเบิด เกิดขึ้นที่กรุงลอนดอน อีกหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีแน่นอน 39.68% 42.74% 41.21%
เพราะ ยังไม่มีระบบหรือมาตรการในการป้องกัน, ยังไม่สามารถจับกุมต้นตอของผู้กระทำผิดได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 28.59% 19.90% 24.25%
เพราะ อะไรก็เกิดขึ้นได้, ยังไม่รู้ถึงเป้าหมายที่แน่นอนของผู้กระทำ, เหตุการณ์ยังไม่รุนแรงเท่าอเมริกา ฯลฯ
อันดับที่ 3 อาจจะมี 23.80% 23.08% 23.44%
เพราะ เป็นประเทศมหาอำนาจเหมือนอเมริกา, เป็นประเทศเป้าหมาย, ยังไม่ได้รับความเสียหายมากเหมือนอเมริกา ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่มีแน่นอน 7.93% 14.28% 11.10%
เพราะ เกิดขึ้นถึง 2 ครั้งแล้ว, น่าจะมีการเปลี่ยนเป้าหมายในการโจมตี ฯลฯ
2. “ประชาชน” คิดว่า เหตุการณ์ระเบิดที่กรุงลอนดอน มีผลกระทบต่อประเทศไทยหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 มีผลกระทบ 55.56% 51.65% 53.61%
เพราะ เศรษฐกิจของประเทศไม่ดี,มีคนไทยในลอนดอนมากอาจได้รับความเดือดร้อน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 23.81% 31.87% 27.84%
เพราะ ยังไม่รู้ว่าเป็นคนกลุ่มไหน,อาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของทั่วโลก,อาจจะเพียงการสร้างสถานการณ์ ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่มีผลกระทบ 20.63% 16.48% 18.55%
เพราะ ไม่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, อยู่ห่างกันไม่น่าจะเกิดขึ้น, ไม่ใช่เป้าหมายของผู้ก่อการร้าย ฯลฯ
3. จากเหตุการณ์ระเบิดที่กรุงลอนดอน ประชาชนมีความวิตกกังวลว่าจะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวในประเทศไทย หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 วิตกกังวล 34.92% 27.47% 31.20%
เพราะ เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ, อาจโยงไปถึงสถานการณ์ทางภาคใต้, ไทยยังไม่มีมาตรการป้องกันที่ดีพอ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่ค่อยวิตกกังวล 23.81% 30.76% 27.28%
เพราะ ไทยไม่ใช่เป้าหมายสำคัญ, ไม่เคยสร้างศัตรูและไม่เคยใช้ความรุนแรงกับใคร, มีมาตรการป้องกันที่ดีฯลฯ
อันดับที่ 3 ค่อนข้างวิตกกังวล 22.22% 29.68% 25.95%
เพราะ อาจจะมีการสร้างสถานการณ์, ผู้ก่อการร้ายอาจหลบหนี้เข้ามาไทยได้,อาจมีการแทรกแซงในภาคใต้ ฯลฯ
อันดับที่ 4 ไม่วิตกกังวล 19.05% 12.09% 15.57%
เพราะ รัฐบาลและเจ้าหน้าที่บ้านเมืองต้องป้องกันและวางมาตรการไว้ดีแล้ว, ไม่ใช่ประเทศมหาอำนาจ ฯลฯ
4. “ประชาชน” อยากให้รัฐบาลมีมาตรการที่เป็นรูปธรรม เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ในประเทศไทยดังนี้
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 เพิ่มกำลังเจ้าหน้าที่ดูแลสถานที่สำคัญและบริเวณที่มีผู้คนอยู่มาก อย่างเข้มงวด 39.58% 42.85% 41.22%
อันดับที่ 2 มีมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเข้มงวด มีอุปกรณ์ที่มีความทันสมัยในการ
ตรวจจับอาวุธที่ผิดกฎหมาย, วัตถุระเบิดได้ 20.83% 27.27% 24.05%
อันดับที่ 3 มีมาตรการในการตรวจคนเข้า — ออกประเทศอย่างรัดกุมและเข้มงวด 16.67% 11.71% 14.19%
อันดับที่ 4 หน่วยข่าวกรองควรมีการตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียด มีการสืบหาข้อมูล
ข่าวสารความมั่นคงของประเทศอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 12.50% 10.38% 11.44%
อันดับที่ 5 ทุกฝ่ายร่วมมือกันสอดส่องดูแล และ ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น 10.42% 7.79% 9.10%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-