แม้ว่าความขัดแย้งกรณี การซื้อหุ้นมติชน — โพสต์ของแกรมมี่จะยุติลงตามข้อตกลงที่ได้ร่วมแถลงข่าวไป
แล้ว แต่กระแสวิพากษ์วิจารณ์ยังปรากฏเป็นข่าวที่ต่อเนื่อง เพื่อสะท้อนเหตุการณ์ดังกล่าวในลักษณะบทเรียนที่จะนำมาใช้
ประโยชน์ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยใน
กรุงเทพฯและปริมณฑลที่ติดตามข่าวนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,431 คน (ชาย 689 คน 48.15% หญิง 742 คน
51.85%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 17 — 18 กันยายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. บทเรียนจากความขัดแย้งกรณี การซื้อหุ้นมติชน — โพสต์ สะท้อนได้ดังนี้
อันดับที่ 1 สังคมตื่นตัว/ให้ความสำคัญและให้ความสนใจต่อสื่อมวลชนมาก 48.08%
อันดับที่ 2 ความเข้มแข็ง/ร่วมมือร่วมใจของสื่อมวลชนที่ทำให้สื่อไม่ถูกครอบงำ 17.96%
อันดับที่ 3 ความรักในความยุติธรรม/ร่วมมือร่วมใจของคนไทยโดยเฉพาะผู้อ่านมติชน 16.84%
อันดับที่ 4 ทุนนิยมไม่สามารถครอบครองได้ง่าย/เงินซื้อไม่ได้ทุกอย่าง 12.72%
*อื่นๆ เช่น คนไทยตื่นตัวต่อข้อมูลข่าวสาร,การทำธุรกิจต้องรอบคอบ ฯลฯ 4.40%
2. “สื่อมวลชน” โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ได้อะไร? จากกรณีนี้
อันดับที่ 1 รับรู้ว่าประชาชนให้ความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อสื่อมวลชนจึงต้องทำหน้าที่ให้สมกับความศรัทธาของประชาชน 54.37%
อันดับที่ 2 มีความรอบคอบ/รัดกุมในการระวังไม่ให้ถูกครอบงำทางธุรกิจโดยง่าย 19.78%
อันดับที่ 3 สื่อถูกรังแกหรือครอบงำได้ยากขึ้น 18.24%
*อื่นๆ เช่น ต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง,เป็นสื่อที่มีคุณภาพ ฯลฯ 7.61%
3. “ธุรกิจ” โดยเฉพาะการซื้อขายหุ้นได้อะไร? จากกรณีนี้
อันดับที่ 1 ความรอบคอบ/รัดกุมในการดำเนินธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจด้านสื่อมวลชนที่มีการตอบรับจากประชาชนสูง 55.84%
อันดับที่ 2 จริยธรรมทางธุรกิจที่ต้องยึดเป็นหลักปฏิบัติ 22.15%
อันดับที่ 3 เงินไม่สามารถซื้อได้ทุกอย่าง 14.68%
*อื่นๆ เช่น การไม่มองข้ามกระแสประชาชน ฯลฯ 7.33%
4. “ประชาชน” ได้อะไรจากกรณีนี้
อันดับที่ 1 สร้างความตื่นตัวและตระหนักในเรื่องการครอบงำของทุนนิยม 39.69%
อันดับที่ 2 การระมัดระวัง/ตรวจสอบการครอบงำสื่อในรูปแบบต่างๆ 28.58%
อันดับที่ 3 การปกป้องสื่อมวลชนเพื่อให้สื่อมวลชนเป็นที่พึ่งของประชาชนได้ 25.23%
* อื่นๆ เช่น การแสดงพลังสนับสนุนกรณีนี้ทำให้สื่อมวลชนต้องตอบสนองประชาชนมากขึ้น ฯ 6.50%
5. ประชาชนคิดว่าจะเกิดเหตุการณ์กรณีการซื้อหุ้นสื่อมวลชนแบบนี้อีกหรือไม่?
อันดับที่ 1 คิดว่าน่าจะเกิดขึ้น 54.58%
เพราะ สื่อมีอิทธิพลมาก,มีบทบาทต่อสังคมสูงใครก็อยากได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 36.20%
เพราะ คาดเดายากแต่ถ้าหากสื่อและประขาชนอ่อนแอก็อาจเกิดขึ้นได้อีก ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่น่าจะเกิดขึ้นอีก 9.22%
เพราะ กรณีที่เกิดขึ้นนี้เป็นบทเรียนที่ทำให้ทุกฝ่ายระมัดระวัง,พลังของสื่อและประชาชนมีมากถึงจะทำก็ไม่สำเร็จ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
แล้ว แต่กระแสวิพากษ์วิจารณ์ยังปรากฏเป็นข่าวที่ต่อเนื่อง เพื่อสะท้อนเหตุการณ์ดังกล่าวในลักษณะบทเรียนที่จะนำมาใช้
ประโยชน์ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัยใน
กรุงเทพฯและปริมณฑลที่ติดตามข่าวนี้ จำนวนทั้งสิ้น 1,431 คน (ชาย 689 คน 48.15% หญิง 742 คน
51.85%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 17 — 18 กันยายน 2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. บทเรียนจากความขัดแย้งกรณี การซื้อหุ้นมติชน — โพสต์ สะท้อนได้ดังนี้
อันดับที่ 1 สังคมตื่นตัว/ให้ความสำคัญและให้ความสนใจต่อสื่อมวลชนมาก 48.08%
อันดับที่ 2 ความเข้มแข็ง/ร่วมมือร่วมใจของสื่อมวลชนที่ทำให้สื่อไม่ถูกครอบงำ 17.96%
อันดับที่ 3 ความรักในความยุติธรรม/ร่วมมือร่วมใจของคนไทยโดยเฉพาะผู้อ่านมติชน 16.84%
อันดับที่ 4 ทุนนิยมไม่สามารถครอบครองได้ง่าย/เงินซื้อไม่ได้ทุกอย่าง 12.72%
*อื่นๆ เช่น คนไทยตื่นตัวต่อข้อมูลข่าวสาร,การทำธุรกิจต้องรอบคอบ ฯลฯ 4.40%
2. “สื่อมวลชน” โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ได้อะไร? จากกรณีนี้
อันดับที่ 1 รับรู้ว่าประชาชนให้ความเชื่อมั่น ศรัทธาต่อสื่อมวลชนจึงต้องทำหน้าที่ให้สมกับความศรัทธาของประชาชน 54.37%
อันดับที่ 2 มีความรอบคอบ/รัดกุมในการระวังไม่ให้ถูกครอบงำทางธุรกิจโดยง่าย 19.78%
อันดับที่ 3 สื่อถูกรังแกหรือครอบงำได้ยากขึ้น 18.24%
*อื่นๆ เช่น ต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง,เป็นสื่อที่มีคุณภาพ ฯลฯ 7.61%
3. “ธุรกิจ” โดยเฉพาะการซื้อขายหุ้นได้อะไร? จากกรณีนี้
อันดับที่ 1 ความรอบคอบ/รัดกุมในการดำเนินธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจด้านสื่อมวลชนที่มีการตอบรับจากประชาชนสูง 55.84%
อันดับที่ 2 จริยธรรมทางธุรกิจที่ต้องยึดเป็นหลักปฏิบัติ 22.15%
อันดับที่ 3 เงินไม่สามารถซื้อได้ทุกอย่าง 14.68%
*อื่นๆ เช่น การไม่มองข้ามกระแสประชาชน ฯลฯ 7.33%
4. “ประชาชน” ได้อะไรจากกรณีนี้
อันดับที่ 1 สร้างความตื่นตัวและตระหนักในเรื่องการครอบงำของทุนนิยม 39.69%
อันดับที่ 2 การระมัดระวัง/ตรวจสอบการครอบงำสื่อในรูปแบบต่างๆ 28.58%
อันดับที่ 3 การปกป้องสื่อมวลชนเพื่อให้สื่อมวลชนเป็นที่พึ่งของประชาชนได้ 25.23%
* อื่นๆ เช่น การแสดงพลังสนับสนุนกรณีนี้ทำให้สื่อมวลชนต้องตอบสนองประชาชนมากขึ้น ฯ 6.50%
5. ประชาชนคิดว่าจะเกิดเหตุการณ์กรณีการซื้อหุ้นสื่อมวลชนแบบนี้อีกหรือไม่?
อันดับที่ 1 คิดว่าน่าจะเกิดขึ้น 54.58%
เพราะ สื่อมีอิทธิพลมาก,มีบทบาทต่อสังคมสูงใครก็อยากได้ ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 36.20%
เพราะ คาดเดายากแต่ถ้าหากสื่อและประขาชนอ่อนแอก็อาจเกิดขึ้นได้อีก ฯลฯ
อันดับที่ 3 คิดว่าไม่น่าจะเกิดขึ้นอีก 9.22%
เพราะ กรณีที่เกิดขึ้นนี้เป็นบทเรียนที่ทำให้ทุกฝ่ายระมัดระวัง,พลังของสื่อและประชาชนมีมากถึงจะทำก็ไม่สำเร็จ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-