แท็ก
กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
แก้ไขรัฐธรรมนูญ
สวนดุสิตโพลล์
ชุมนุม
ม็อบ
จากกรณีกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยออกมาชุมนุมเพื่อต่อต้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้วเกิดการปะทะกับกลุ่มต่อต้านพันธมิตร
จนทำให้เกิดเหตุการณ์บานปลาย และส่งผลกระทบต่อด้านต่างๆ เช่นภาพลักษณ์ของประเทศ การเมืองไทย และความไม่สงบในกรุงเทพมหานคร
สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อสะท้อนแนวทางในการแก้ปัญหาจากกลุ่ม
ตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 1,561 คน ระหว่างวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. สิ่งที่ประชาชนรู้สึก ห่วงใย จากเหตุการณ์ปะทะกันของม็อบที่มาประท้วง คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 การปะทะกันที่รุนแรง /การก่อเหตุจลาจล /ความชุลมุนวุ่นวาย 32.49%
2 เศรษฐกิจของประเทศ /การลงทุนชะลอตัว 28.29%
3 ปัญหาการจราจรติดขัด 15.41%
4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 14.56%
5 ความแตกแยกทางสังคม /ความไม่สงบสุขในสังคม 9.25%
2. วิธีหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ประชาชนคิดว่าจะทำให้การประท้วงยุติลงได้ คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ควรหันหน้าเข้าหากัน /พบกันคนละครึ่งทาง 43.79%
2 ส่งตัวแทนหรือหัวหน้าแกนนำทั้ง 2 ฝ่ายมาเจรจาพูดคุยกัน 28.76%
3 ใช้มาตรการที่เด็ดขาดสลายการชุมนุมให้หมดไปโดยเร็ว 13.73%
4 การมีสติ /ควรใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาดีกว่าการใช้กำลัง 8.50%
5 คงจะแก้ไขได้ยาก /ดูจากรูปการแล้วคิดว่าน่าจะบานปลาย 5.22%
3. สิ่งที่ประชาชนอยากฝากถึง ม็อบพันธมิตร คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ยุติการประท้วง /หยุดการเคลื่อนไหว 29.55%
2 ควรนึกถึงประเทศชาติบ้านเมืองเป็นสำคัญ 25.75%
3 ควรใช้วิธีการแบบสันติวิธี ชุมนุมอย่างสงบ 21.21%
4 ควรใช้สติในการแก้ไขปัญหา /รับฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน 12.28%
5 ควรทำสิ่งที่เป็นประโยชน์มากกว่านี้ 11.21%
4. สิ่งที่ประชาชนอยากฝากถึง รัฐบาล คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ควรนึกถึงประเทศชาติและประชาชนให้มากๆ 30.77%
2 เร่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้นโดยเร็ว 25.64%
3 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง โปร่งใส ชัดเจน 18.59%
4 มีใจเปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นของประชาชน 13.46%
5 มีความจริงใจในการทำงาน 11.54%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
จนทำให้เกิดเหตุการณ์บานปลาย และส่งผลกระทบต่อด้านต่างๆ เช่นภาพลักษณ์ของประเทศ การเมืองไทย และความไม่สงบในกรุงเทพมหานคร
สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อสะท้อนแนวทางในการแก้ปัญหาจากกลุ่ม
ตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 1,561 คน ระหว่างวันที่ 26-28 พฤษภาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. สิ่งที่ประชาชนรู้สึก ห่วงใย จากเหตุการณ์ปะทะกันของม็อบที่มาประท้วง คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 การปะทะกันที่รุนแรง /การก่อเหตุจลาจล /ความชุลมุนวุ่นวาย 32.49%
2 เศรษฐกิจของประเทศ /การลงทุนชะลอตัว 28.29%
3 ปัญหาการจราจรติดขัด 15.41%
4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 14.56%
5 ความแตกแยกทางสังคม /ความไม่สงบสุขในสังคม 9.25%
2. วิธีหรือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ประชาชนคิดว่าจะทำให้การประท้วงยุติลงได้ คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ควรหันหน้าเข้าหากัน /พบกันคนละครึ่งทาง 43.79%
2 ส่งตัวแทนหรือหัวหน้าแกนนำทั้ง 2 ฝ่ายมาเจรจาพูดคุยกัน 28.76%
3 ใช้มาตรการที่เด็ดขาดสลายการชุมนุมให้หมดไปโดยเร็ว 13.73%
4 การมีสติ /ควรใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาดีกว่าการใช้กำลัง 8.50%
5 คงจะแก้ไขได้ยาก /ดูจากรูปการแล้วคิดว่าน่าจะบานปลาย 5.22%
3. สิ่งที่ประชาชนอยากฝากถึง ม็อบพันธมิตร คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ยุติการประท้วง /หยุดการเคลื่อนไหว 29.55%
2 ควรนึกถึงประเทศชาติบ้านเมืองเป็นสำคัญ 25.75%
3 ควรใช้วิธีการแบบสันติวิธี ชุมนุมอย่างสงบ 21.21%
4 ควรใช้สติในการแก้ไขปัญหา /รับฟังเหตุผลซึ่งกันและกัน 12.28%
5 ควรทำสิ่งที่เป็นประโยชน์มากกว่านี้ 11.21%
4. สิ่งที่ประชาชนอยากฝากถึง รัฐบาล คือ
อันดับที่ ภาพรวม
1 ควรนึกถึงประเทศชาติและประชาชนให้มากๆ 30.77%
2 เร่งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจให้ดีขึ้นโดยเร็ว 25.64%
3 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง โปร่งใส ชัดเจน 18.59%
4 มีใจเปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นของประชาชน 13.46%
5 มีความจริงใจในการทำงาน 11.54%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-