จากกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญได้วินิจฉัยว่ากระบวนการสรรหาคุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา เพื่อขึ้นดำรง
ตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน(ผู้ว่าการ สตง.) มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ และในที่สุดที่ประชุมวุฒิสภาได้คัดเลือกใหม่
ซึ่งผลปรากฏว่านายวิสุทธิ์ มนตริวัต ได้รับเลือก แต่ได้เกิดการถกเถียงในข้อกฎหมายว่า การวินิจฉัยของศาลรัฐ
ธรรมนูญหมายความว่าคุณหญิงจารุวรรณ ต้องพ้นตำแหน่งด้วยหรือไม่ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่ติดตามรับรู้ในเรื่องนี้ ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น
1,197 คน (ชาย 504 คน 42.11% หญิง 693 คน 57.89%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 21 — 23 พฤษภาคม
2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าสาเหตุในการขัดแย้งการแต่งตั้งนายวิสุทธิ์ มนตริวัต แทน คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกาคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความขัดแย้งในเรื่องของผลประโยชน์ 52.63% 30.43% 41.53%
อันดับที่ 2 ความไม่ชัดเจนในการตีความทางกฎหมาย 21.05% 39.13% 30.09%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องที่เอาชนะคะค้านกัน 15.79% 13.05% 14.42%
อันดับที่ 4 เป็นเกมการเมือง 10.53% 17.39% 13.96%
2. “ประชาชน” คิดว่าควรที่จะนำชื่อของนายวิสุทธิ์ มนตริวัต ขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้แต่งตั้งผู้ว่าฯ สตง. หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่สมควรนำเสนอ 61.11% 56.52% 58.82%
เพราะ คุณหญิงจารุวรรณ ไม่ได้มีความผิดอะไร,ควรหาข้อสรุปที่แน่ชัดก่อน,ควรให้หมดวาระในการ
ดำรงตำแหน่งก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 16.67% 26.08% 21.37%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในด้านกฎหมายต่างๆ,ต้องรอดูรายละเอียดให้แน่นอนก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นสมควรนำเสนอ 22.22% 17.40% 19.81%
เพราะ เป็นสิ่งที่เหมาะสมที่สุดแล้วสำหรับสถานการณ์ในขณะนี้,เพื่อความสะดวกในการทำงาน ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าสมควรหรือไม่? ที่จะให้มีการนำเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความอีกครั้ง
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สมควร 42.10% 41.67% 41.88%
เพราะ เป็นความผิดของ ส.ว. เอง,ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้,ควรส่งเรื่องตีความอีกครั้ง
เพื่อความถูกต้อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 31.58% 32.25% 31.92%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมมากกว่า,ทำให้การทำงานบางอย่างต้องชะงักไป ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่สมควร 26.32% 26.08% 26.20%
เพราะ ควรยึดถือในการตัดสินใจตอนแรกดีที่สุดถือว่าตัดสินใจไปแล้ว,การตีความจากรัฐธรรมนูญ
ควรมีแค่ครั้งเดียวเพื่อความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
4. จากกรณีการขัดแย้งในเรื่องการแต่งตั้งผู้ว่าฯ สตง. ครั้งนี้ถ้าวุฒิสภายังไม่สามารถสรุปได้ ก็จะมีการถวายฎีกา
ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยอ้างว่าคงเป็นหนทางเดียวที่จะสามารถยุติปัญหานี้ได้ “ประชาชน” คิดว่า
สมควรหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่สมควร 52.94% 66.67% 59.81%
เพราะ เป็นการระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท,เป็นการไม่เหมาะสมควรจัดการปัญหานี้
ด้วยตัวเองดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 สมควร 47.06% 33.33% 40.19%
เพราะ คิดว่าน่าจะเป็นทางเดียวที่จะยุติเรื่องนี้ได้ดีที่สุด,เป็นทางออกที่ดีที่สุด ฯลฯ
5. “ประชาชน” คิดว่าทางออกของเรื่องนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้ทุกฝ่ายเร่งหาข้อมูลให้เร็วที่สุดและศาลรัฐธรรมนูญ
ควรตีความอีกครั้งเพื่อความชัดเจนทางกฎหมายและ
เด่นชัดในเรื่องของการถูก - ผิด 67.15% 46.16% 56.65%
อันดับที่ 2 ให้คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ดำรงตำแหน่งต่อไป 21.74% 30.77% 26.26%
อันดับที่ 3 ถวายฎีกาต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 11.11% 23.07% 17.09%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ตำแหน่งผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน(ผู้ว่าการ สตง.) มิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ และในที่สุดที่ประชุมวุฒิสภาได้คัดเลือกใหม่
ซึ่งผลปรากฏว่านายวิสุทธิ์ มนตริวัต ได้รับเลือก แต่ได้เกิดการถกเถียงในข้อกฎหมายว่า การวินิจฉัยของศาลรัฐ
ธรรมนูญหมายความว่าคุณหญิงจารุวรรณ ต้องพ้นตำแหน่งด้วยหรือไม่ “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่ติดตามรับรู้ในเรื่องนี้ ที่พักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น
1,197 คน (ชาย 504 คน 42.11% หญิง 693 คน 57.89%) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 21 — 23 พฤษภาคม
2548 สรุปผลได้ดังนี้
1. “ประชาชน” คิดว่าสาเหตุในการขัดแย้งการแต่งตั้งนายวิสุทธิ์ มนตริวัต แทน คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกาคือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ความขัดแย้งในเรื่องของผลประโยชน์ 52.63% 30.43% 41.53%
อันดับที่ 2 ความไม่ชัดเจนในการตีความทางกฎหมาย 21.05% 39.13% 30.09%
อันดับที่ 3 เป็นเรื่องที่เอาชนะคะค้านกัน 15.79% 13.05% 14.42%
อันดับที่ 4 เป็นเกมการเมือง 10.53% 17.39% 13.96%
2. “ประชาชน” คิดว่าควรที่จะนำชื่อของนายวิสุทธิ์ มนตริวัต ขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อให้แต่งตั้งผู้ว่าฯ สตง. หรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่สมควรนำเสนอ 61.11% 56.52% 58.82%
เพราะ คุณหญิงจารุวรรณ ไม่ได้มีความผิดอะไร,ควรหาข้อสรุปที่แน่ชัดก่อน,ควรให้หมดวาระในการ
ดำรงตำแหน่งก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 16.67% 26.08% 21.37%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในด้านกฎหมายต่างๆ,ต้องรอดูรายละเอียดให้แน่นอนก่อน ฯลฯ
อันดับที่ 3 เห็นสมควรนำเสนอ 22.22% 17.40% 19.81%
เพราะ เป็นสิ่งที่เหมาะสมที่สุดแล้วสำหรับสถานการณ์ในขณะนี้,เพื่อความสะดวกในการทำงาน ฯลฯ
3. “ประชาชน” คิดว่าสมควรหรือไม่? ที่จะให้มีการนำเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความอีกครั้ง
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 สมควร 42.10% 41.67% 41.88%
เพราะ เป็นความผิดของ ส.ว. เอง,ยังไม่สามารถหาข้อสรุปได้,ควรส่งเรื่องตีความอีกครั้ง
เพื่อความถูกต้อง ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไม่แน่ใจ 31.58% 32.25% 31.92%
เพราะ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมมากกว่า,ทำให้การทำงานบางอย่างต้องชะงักไป ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่สมควร 26.32% 26.08% 26.20%
เพราะ ควรยึดถือในการตัดสินใจตอนแรกดีที่สุดถือว่าตัดสินใจไปแล้ว,การตีความจากรัฐธรรมนูญ
ควรมีแค่ครั้งเดียวเพื่อความน่าเชื่อถือ ฯลฯ
4. จากกรณีการขัดแย้งในเรื่องการแต่งตั้งผู้ว่าฯ สตง. ครั้งนี้ถ้าวุฒิสภายังไม่สามารถสรุปได้ ก็จะมีการถวายฎีกา
ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยอ้างว่าคงเป็นหนทางเดียวที่จะสามารถยุติปัญหานี้ได้ “ประชาชน” คิดว่า
สมควรหรือไม่?
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่สมควร 52.94% 66.67% 59.81%
เพราะ เป็นการระคายเคืองเบื้องพระยุคลบาท,เป็นการไม่เหมาะสมควรจัดการปัญหานี้
ด้วยตัวเองดีกว่า ฯลฯ
อันดับที่ 2 สมควร 47.06% 33.33% 40.19%
เพราะ คิดว่าน่าจะเป็นทางเดียวที่จะยุติเรื่องนี้ได้ดีที่สุด,เป็นทางออกที่ดีที่สุด ฯลฯ
5. “ประชาชน” คิดว่าทางออกของเรื่องนี้ คือ
ชาย หญิง ภาพรวม
อันดับที่ 1 ให้ทุกฝ่ายเร่งหาข้อมูลให้เร็วที่สุดและศาลรัฐธรรมนูญ
ควรตีความอีกครั้งเพื่อความชัดเจนทางกฎหมายและ
เด่นชัดในเรื่องของการถูก - ผิด 67.15% 46.16% 56.65%
อันดับที่ 2 ให้คุณหญิงจารุวรรณ เมณฑกา ดำรงตำแหน่งต่อไป 21.74% 30.77% 26.26%
อันดับที่ 3 ถวายฎีกาต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 11.11% 23.07% 17.09%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-