จากกรณีที่มีนักศึกษาปี1 ได้รับบาดเจ็บจากการรับน้อง จนกลายเป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ทำให้สังคม รวมถึงผู้ปกครองที่มีบุตรหลานซึ่งกำลังเข้า
ชั้นเรียนใหม่มีความกังวลและเป็นห่วงในความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้มหาวิทยาลัยต่างๆเกิดความตื่นตัวและมีการดูแลอย่างเข้มงวดในเรื่อง
ของการรับน้องมากขึ้น สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครองที่มี
บุตรหลานอยู่ในวัยเรียน จำนวนทั้งสิ้น 1,088 คน ระหว่างวันที่ 17-18 มิถุนายน 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนเห็นด้วยกับภาพรวมของประเพณีการรับน้องหรือไม่
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 เห็นด้วย 47.31% 70.13% 35.71% 36.08%
เพราะ ทำให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้รู้จักกันมากขึ้น ,ทำให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ ,ได้รู้จักเพื่อนใหม่ ,
ทำให้เกิดความรักความผูกพันในสถานศึกษา ,เป็นประเพณีที่สืบทอดมานาน ฯลฯ
2 ไม่เห็นด้วย 37.07% 15.58% 48.02% 47.62%
เพราะ ปัจจุบันใช้ความรุนแรงมากขึ้น ,ควรอยู่ในการควบคุมดูแลของ ครู อาจารย์ ,
เหมือนเป็นการแกล้งกันมากกว่าเป็นการรับน้อง ฯลฯ
3 เฉยๆ 15.62% 14.29% 16.27% 16.30%
เพราะ เป็นเพียงส่วนน้อยที่สร้างความเดือดร้อนขึ้นมาจนทำให้มองว่าประเพณีการรับน้องเป็นสิ่งที่น่ากลัว,
การรับน้องมีทั้งเรื่องดีและไม่ดี แต่ข่าวที่ดีๆไม่มีการนำเสนอ ฯลฯ
2. ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อประเพณีการรับน้องในปัจจุบัน
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 ใช้ความรุนแรงมากขึ้น /มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม 27.90% 15.15% 37.50% 31.04%
2 เป็นประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติมานาน /สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น 23.89% 28.79% 18.75% 24.14%
3 ได้รับการปลูกฝังและปฏิบัติมาแบบผิดๆ 19.27% 12.12% 25.00% 20.69%
4 เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง 15.83% 21.21% 12.50% 13.79%
5 มีทั้งดีและไม่ดี ขึ้นอยู่กับทัศนคติและความคิดเห็นของแต่ละคน 13.11% 22.73% 6.25% 10.34%
3. วิธีที่ดีที่สุดในการรับน้อง คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 จัดกิจกรรมที่ทำประโยชน์เพื่อสังคม 29.09% 29.17% 19.23% 38.89%
2 ปฏิบัติให้อยู่ในกฎเกณฑ์ หรือระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 25.18% 20.83% 26.92% 27.78%
3 จัดการแข่งขันกีฬาเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ ความสามัคคี 20.89% 22.92% 23.08% 16.67%
4 ใช้วิธีการพูดคุยหรือการแนะนำตัวเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่กันและกัน 12.43% 12.50% 19.23% 5.55%
5 ไม่มีการบังคับหรือฝืนใจรุ่นน้อง 12.41% 14.58% 11.54% 11.11%
4. สาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ในการรับน้องที่รุนแรง คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 เกิดจากความคึกคะนอง /ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของรุ่นพี่ 30.45% 35.29% 29.03% 27.02%
2 ขาดการควบคุมดูแลจากครูอาจารย์ และสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด 21.29% 13.75% 25.80% 24.33%
3 ได้รับความเก็บกดจากรุ่นพี่ที่ผ่านมา/ ต้องการระบายในสิ่งที่เคยโดนรุ่นพี่กระทำมาก่อน 19.22% 21.56% 22.59% 13.51%
4 ความไม่มีจิตสำนึก การไม่รู้จักคิด ได้รับการปลูกฝังแบบผิดๆ 16.49% 17.64% 12.90% 18.92%
5 มีเรื่องของสิ่งมึนเมาเข้ามาเกี่ยวข้อง 12.55% 11.76% 9.68% 16.22%
5. แนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์อย่างที่เป็นข่าว คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 มีครู อาจารย์ให้การดูแล ควบคุมอย่างใกล้ชิด 41.97% 40.74% 42.86% 42.31%
2 มีการออกกฎ ระเบียบและบทลงโทษที่ชัดเจนในการรับน้อง 25.55% 25.92% 23.81% 26.92%
3 สร้างจิตสำนึกและความเข้าใจที่ถูกต้องในการรับน้อง 20.17% 22.22% 19.05% 19.23%
* อื่นๆ เช่น อนุญาตให้มีการรับน้องในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ,ห้ามรับน้องนอกสถานที่ ,
ไม่ควรนำเครื่องดื่มหรือสิ่งมึนเมาเข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ 12.31% 11.12% 14.28% 11.54%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
ชั้นเรียนใหม่มีความกังวลและเป็นห่วงในความปลอดภัย อีกทั้งเป็นการกระตุ้นให้มหาวิทยาลัยต่างๆเกิดความตื่นตัวและมีการดูแลอย่างเข้มงวดในเรื่อง
ของการรับน้องมากขึ้น สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สะท้อนความคิดเห็นของประชาชนทั่วไป นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครองที่มี
บุตรหลานอยู่ในวัยเรียน จำนวนทั้งสิ้น 1,088 คน ระหว่างวันที่ 17-18 มิถุนายน 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ประชาชนเห็นด้วยกับภาพรวมของประเพณีการรับน้องหรือไม่
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 เห็นด้วย 47.31% 70.13% 35.71% 36.08%
เพราะ ทำให้รุ่นพี่รุ่นน้องได้รู้จักกันมากขึ้น ,ทำให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ ,ได้รู้จักเพื่อนใหม่ ,
ทำให้เกิดความรักความผูกพันในสถานศึกษา ,เป็นประเพณีที่สืบทอดมานาน ฯลฯ
2 ไม่เห็นด้วย 37.07% 15.58% 48.02% 47.62%
เพราะ ปัจจุบันใช้ความรุนแรงมากขึ้น ,ควรอยู่ในการควบคุมดูแลของ ครู อาจารย์ ,
เหมือนเป็นการแกล้งกันมากกว่าเป็นการรับน้อง ฯลฯ
3 เฉยๆ 15.62% 14.29% 16.27% 16.30%
เพราะ เป็นเพียงส่วนน้อยที่สร้างความเดือดร้อนขึ้นมาจนทำให้มองว่าประเพณีการรับน้องเป็นสิ่งที่น่ากลัว,
การรับน้องมีทั้งเรื่องดีและไม่ดี แต่ข่าวที่ดีๆไม่มีการนำเสนอ ฯลฯ
2. ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อประเพณีการรับน้องในปัจจุบัน
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 ใช้ความรุนแรงมากขึ้น /มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม 27.90% 15.15% 37.50% 31.04%
2 เป็นประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติมานาน /สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น 23.89% 28.79% 18.75% 24.14%
3 ได้รับการปลูกฝังและปฏิบัติมาแบบผิดๆ 19.27% 12.12% 25.00% 20.69%
4 เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้อง 15.83% 21.21% 12.50% 13.79%
5 มีทั้งดีและไม่ดี ขึ้นอยู่กับทัศนคติและความคิดเห็นของแต่ละคน 13.11% 22.73% 6.25% 10.34%
3. วิธีที่ดีที่สุดในการรับน้อง คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 จัดกิจกรรมที่ทำประโยชน์เพื่อสังคม 29.09% 29.17% 19.23% 38.89%
2 ปฏิบัติให้อยู่ในกฎเกณฑ์ หรือระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 25.18% 20.83% 26.92% 27.78%
3 จัดการแข่งขันกีฬาเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ ความสามัคคี 20.89% 22.92% 23.08% 16.67%
4 ใช้วิธีการพูดคุยหรือการแนะนำตัวเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่กันและกัน 12.43% 12.50% 19.23% 5.55%
5 ไม่มีการบังคับหรือฝืนใจรุ่นน้อง 12.41% 14.58% 11.54% 11.11%
4. สาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ในการรับน้องที่รุนแรง คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 เกิดจากความคึกคะนอง /ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของรุ่นพี่ 30.45% 35.29% 29.03% 27.02%
2 ขาดการควบคุมดูแลจากครูอาจารย์ และสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด 21.29% 13.75% 25.80% 24.33%
3 ได้รับความเก็บกดจากรุ่นพี่ที่ผ่านมา/ ต้องการระบายในสิ่งที่เคยโดนรุ่นพี่กระทำมาก่อน 19.22% 21.56% 22.59% 13.51%
4 ความไม่มีจิตสำนึก การไม่รู้จักคิด ได้รับการปลูกฝังแบบผิดๆ 16.49% 17.64% 12.90% 18.92%
5 มีเรื่องของสิ่งมึนเมาเข้ามาเกี่ยวข้อง 12.55% 11.76% 9.68% 16.22%
5. แนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์อย่างที่เป็นข่าว คือ
อันดับ ภาพรวม นร./นศ. ผู้ปกครอง ประชาชน
1 มีครู อาจารย์ให้การดูแล ควบคุมอย่างใกล้ชิด 41.97% 40.74% 42.86% 42.31%
2 มีการออกกฎ ระเบียบและบทลงโทษที่ชัดเจนในการรับน้อง 25.55% 25.92% 23.81% 26.92%
3 สร้างจิตสำนึกและความเข้าใจที่ถูกต้องในการรับน้อง 20.17% 22.22% 19.05% 19.23%
* อื่นๆ เช่น อนุญาตให้มีการรับน้องในมหาวิทยาลัยเท่านั้น ,ห้ามรับน้องนอกสถานที่ ,
ไม่ควรนำเครื่องดื่มหรือสิ่งมึนเมาเข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ 12.31% 11.12% 14.28% 11.54%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-