จาก 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน ทำให้ความนิยมของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลเพิ่มขึ้น 27.36 %
** หมายเหตุ มาจากร้อยละของความนิยมที่มากขึ้น ลบกับ ร้อยละของความนิยมที่น้อยลง
“สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุก
คน” ของรัฐบาล ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด จำนวน 2,801 คน (กรุงเทพฯ 1,280 คน 45.70% ต่างจังหวัด 1,521 คน 54.30%)
สำรวจระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อ “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาล
- แยกตามพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด
- แยกตามคนที่มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท และมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป
6 มาตรการ พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
ความคิดเห็น เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วย
1.การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน 74.19% 77.92% 63.15% 64.55%
2.ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน 84.42% 81.25% 69.67% 70.51%
3.ลดค่าใช้จ่ายน้ำประปา 61.29% 71.08% 57.72% 55.12%
4.ลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้าครัวเรือน 67.48% 63.89% 58.06% 59.24%
5.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง(ขสมก.) 54.92% 54.43% 52.46% 44.87%
6.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถไฟ ชั้น 3 58.20% 50.00% 53.39% 43.71%
ภาพรวม 66.75% 66.42% 59.08% 56.34%
คนกรุงเทพฯและคนต่างจังหวัดเห็นด้วยกับมาตรการชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือนมากที่สุด ในขณะที่คนที่มีรายได้น้อย
กว่า 10,000 บาท และคนที่มีรายได้มากกว่า 10,000 บาท ก็มีความเห็นด้วยกับมาตรการดังกล่าวเช่นกัน
2. ความพึงพอใจของประชาชน ที่มีต่อ “ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาล (เป็นการเรียงลำดับ โดย 1 = มาตรการ
ที่พอใจมากที่สุด 2 3 4 5 6)
- แยกตามพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด
- แยกตามคนที่มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท และมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป
6 มาตรการ พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1.การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน 17.78% 18.80% 16.99% 17.01%
2.ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน 17.19% 19.44% 17.21% 17.35%
3.ลดค่าใช้จ่ายน้ำประปา 16.40% 16.45% 16.76% 16.49%
4.ลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้าครัวเรือน 16.80% 15.60% 16.57% 16.84%
5.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง(ขสมก.) 15.81% 14.74% 17.43% 16.67%
6.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถไฟ ชั้น 3 16.02% 14.97% 15.04% 15.64%
คนกรุงเทพฯ มีความพึงพอใจต่อมาตรการลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน มากที่สุด ในขณะที่คนต่างจังหวัดมีความพึงพอใจต่อมาตรการ
ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือนมากที่สุด
คนที่มีเงินเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท มีความพึงพอใจต่อมาตรการลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง (ขสมก.) มากที่สุด
ในขณะที่คนที่มีเงินเดือนมากกว่า 10,000 บาท มีความพึงพอใจต่อมาตรการชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน มากที่สุด
3. ประชาชนคิดว่า “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาลจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่เป็นอย่างไร?
อันดับ ภาพรวม พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1 ดีขึ้น 51.43% 50.73% 51.35% 51.49% 52.14%
เพราะ เป็นการช่วยลดภาระบางส่วนให้ประหยัดลงได้ ,เป็นการช่วยเหลือที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ฯลฯ
2 เหมือนเดิม 44.01% 44.85% 45.04% 42.57% 43.59%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ,ได้รับประโยชน์เฉพาะกลุ่ม ,ควรพิจารณาเรื่องเพิ่มค่าแรง เพิ่มเงินเดือนจะดีกว่า ฯลฯ
3 แย่ลง 4.56% 4.42% 3.61% 5.94% 4.27%
เพราะ ของกินของใช้ยังคงมีราคาสูง ,รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ,ดูเหมือนประชาชนได้รับประโยชน์แต่รัฐบาลอาจมีการเก็บภาษี
จากทางอื่นมากขึ้น ฯลฯ
4. จาก “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” จะทำให้ความนิยมของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลเป็นอย่างไร ?
อันดับ ภาพรวม พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1 เหมือนเดิม 45.38% 37.84% 47.06% 48.51% 48.11%
เพราะ เป็นเพียงมาตรการระยะสั้น ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนเพียงเล็กน้อย,ไม่ได้มีความจริงใจในการแก้ปัญหา
เป็นการหวังผลในการเพิ่มคะแนนความนิยมของรัฐบาลเท่านั้น ฯลฯ
2 มากขึ้น 40.99% 47.75% 39.21% 38.61% 38.37%
เพราะ เป็นมาตรการที่สามารถช่วยเหลือประชาชนได้จริงและเป็นรูปธรรม ,คนส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์ ฯลฯ
3 น้อยลง 13.63% 14.41% 13.73% 12.88% 13.52%
เพราะ เป็นการสร้างภาพ สร้างกระแสเพื่อกลบข่าวอื่นๆของรัฐบาล,ควรจะมีมาตรการในการช่วยเหลือประชาชนมานานแล้ว ,
ยังไม่เชื่อมั่นในการทำงานของคณะรัฐบาลชุดนี้ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
** หมายเหตุ มาจากร้อยละของความนิยมที่มากขึ้น ลบกับ ร้อยละของความนิยมที่น้อยลง
“สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุก
คน” ของรัฐบาล ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด จำนวน 2,801 คน (กรุงเทพฯ 1,280 คน 45.70% ต่างจังหวัด 1,521 คน 54.30%)
สำรวจระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2551 สรุปผลได้ดังนี้
1. ความคิดเห็นของประชาชน ที่มีต่อ “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาล
- แยกตามพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด
- แยกตามคนที่มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท และมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป
6 มาตรการ พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
ความคิดเห็น เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นด้วย
1.การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน 74.19% 77.92% 63.15% 64.55%
2.ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน 84.42% 81.25% 69.67% 70.51%
3.ลดค่าใช้จ่ายน้ำประปา 61.29% 71.08% 57.72% 55.12%
4.ลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้าครัวเรือน 67.48% 63.89% 58.06% 59.24%
5.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง(ขสมก.) 54.92% 54.43% 52.46% 44.87%
6.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถไฟ ชั้น 3 58.20% 50.00% 53.39% 43.71%
ภาพรวม 66.75% 66.42% 59.08% 56.34%
คนกรุงเทพฯและคนต่างจังหวัดเห็นด้วยกับมาตรการชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือนมากที่สุด ในขณะที่คนที่มีรายได้น้อย
กว่า 10,000 บาท และคนที่มีรายได้มากกว่า 10,000 บาท ก็มีความเห็นด้วยกับมาตรการดังกล่าวเช่นกัน
2. ความพึงพอใจของประชาชน ที่มีต่อ “ 6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาล (เป็นการเรียงลำดับ โดย 1 = มาตรการ
ที่พอใจมากที่สุด 2 3 4 5 6)
- แยกตามพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯและต่างจังหวัด
- แยกตามคนที่มีรายได้น้อยกว่า 10,000 บาท และมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป
6 มาตรการ พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1.การลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน 17.78% 18.80% 16.99% 17.01%
2.ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน 17.19% 19.44% 17.21% 17.35%
3.ลดค่าใช้จ่ายน้ำประปา 16.40% 16.45% 16.76% 16.49%
4.ลดค่าใช้จ่ายไฟฟ้าครัวเรือน 16.80% 15.60% 16.57% 16.84%
5.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง(ขสมก.) 15.81% 14.74% 17.43% 16.67%
6.ลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถไฟ ชั้น 3 16.02% 14.97% 15.04% 15.64%
คนกรุงเทพฯ มีความพึงพอใจต่อมาตรการลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ำมัน มากที่สุด ในขณะที่คนต่างจังหวัดมีความพึงพอใจต่อมาตรการ
ชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือนมากที่สุด
คนที่มีเงินเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท มีความพึงพอใจต่อมาตรการลดค่าใช้จ่ายเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง (ขสมก.) มากที่สุด
ในขณะที่คนที่มีเงินเดือนมากกว่า 10,000 บาท มีความพึงพอใจต่อมาตรการชะลอการปรับก๊าซหุงต้ม LPG ในภาคครัวเรือน มากที่สุด
3. ประชาชนคิดว่า “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” ของรัฐบาลจะทำให้ชีวิตความเป็นอยู่เป็นอย่างไร?
อันดับ ภาพรวม พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1 ดีขึ้น 51.43% 50.73% 51.35% 51.49% 52.14%
เพราะ เป็นการช่วยลดภาระบางส่วนให้ประหยัดลงได้ ,เป็นการช่วยเหลือที่เป็นรูปธรรมชัดเจน ฯลฯ
2 เหมือนเดิม 44.01% 44.85% 45.04% 42.57% 43.59%
เพราะ เป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ,ได้รับประโยชน์เฉพาะกลุ่ม ,ควรพิจารณาเรื่องเพิ่มค่าแรง เพิ่มเงินเดือนจะดีกว่า ฯลฯ
3 แย่ลง 4.56% 4.42% 3.61% 5.94% 4.27%
เพราะ ของกินของใช้ยังคงมีราคาสูง ,รายได้ไม่พอกับรายจ่าย ,ดูเหมือนประชาชนได้รับประโยชน์แต่รัฐบาลอาจมีการเก็บภาษี
จากทางอื่นมากขึ้น ฯลฯ
4. จาก “6 มาตรการ 6 เดือน ฝ่าวิกฤติเพื่อไทยทุกคน” จะทำให้ความนิยมของประชาชนที่มีต่อรัฐบาลเป็นอย่างไร ?
อันดับ ภาพรวม พื้นที่ รายได้
กรุงเทพฯ ต่างจังหวัด น้อยกว่า 10,000 บ. มากกว่า 10,000 บ.
1 เหมือนเดิม 45.38% 37.84% 47.06% 48.51% 48.11%
เพราะ เป็นเพียงมาตรการระยะสั้น ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนเพียงเล็กน้อย,ไม่ได้มีความจริงใจในการแก้ปัญหา
เป็นการหวังผลในการเพิ่มคะแนนความนิยมของรัฐบาลเท่านั้น ฯลฯ
2 มากขึ้น 40.99% 47.75% 39.21% 38.61% 38.37%
เพราะ เป็นมาตรการที่สามารถช่วยเหลือประชาชนได้จริงและเป็นรูปธรรม ,คนส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์ ฯลฯ
3 น้อยลง 13.63% 14.41% 13.73% 12.88% 13.52%
เพราะ เป็นการสร้างภาพ สร้างกระแสเพื่อกลบข่าวอื่นๆของรัฐบาล,ควรจะมีมาตรการในการช่วยเหลือประชาชนมานานแล้ว ,
ยังไม่เชื่อมั่นในการทำงานของคณะรัฐบาลชุดนี้ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-