“สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้สะท้อนความเดือดร้อนของประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จำนวนทั้งสิ้น 2,379
คน ระหว่างวันที่ 20 - 31 พฤษภาคม 2549 พบว่า ราคาสินค้าที่แพงขึ้นเป็นความเดือดร้อนอันดับที่ 1 ที่เป็นปัญหามากที่สุด สวนดุสิตโพล จึงขอนำ
เสนอข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้เป็นแนวทางแก้ไขสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะได้นำไปเป็นข้อมูลประกอบการแก้ไขที่เป็นรูปธรรมต่อไป
1. ประเภทสินค้าที่ราคาแพงขึ้นจนสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน คือ
อันดับที่ 1 เครื่องอุปโภคบริโภค 42.06%
อันดับที่ 2 ราคาน้ำมันที่สูงขึ้น 34.27%
อันดับที่ 3 อาหารสด / ของสด 14.80%
อันดับที่ 4 ค่าโดยสาร 5.76%
อันดับที่ 5 ก๊าซหุงต้ม 3.11%
2. ประเด็นความเดือดร้อนที่เกิดจากราคาสินค้าแพง
อันดับที่ 1 รายได้ไม่พอซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคทำให้เป็นหนี้สิน 47.44%
อันดับที่ 2 เครียดกับการหาเงินมาใช้จ่าย 24.82%
อันดับที่ 3 ต้องประหยัดในการใช้จ่ายมากขึ้น 19.71%
อันดับที่ 4 เป็นสินค้าที่ต้องใช้อุปโภคบริโภคเป็นประจำ 8.03%
3. ทำไม? ราคาสินค้าจึงแพงในสายตาประชาชน
อันดับที่ 1 น้ำมันแพง/ต้นทุนการผลิตแพง 53.07%
อันดับที่ 2 พ่อค้าขูดรีดเอากำไรมากเกินไป/พ่อค้าฉวยโอกาส 27.93%
อันดับที่ 3 รัฐบาล/หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องไม่สอดส่องดูแลอย่างจริงจัง 10.62%
* อื่นๆ เช่น ค่าเงินบาทผันผวน,เศรษฐกิจตกต่ำ,การเมืองวุ่นวายทำให้นักการเมืองไม่มีเวลาสนใจ ฯลฯ 8.38%
4. แนวทางการแก้ไขปัญหาสินค้าราคาแพงที่เป็นรูปธรรมในสายตาประชาชน
อันดับที่ 1 ควรมีการควบคุมราคาสินค้าให้เป็นมาตรฐาน/ไม่ควรขึ้นราคาพร้อมกันหมด 46.96%
อันดับที่ 2 ช่วยเหลือตัวเองก่อน/ใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น/ประหยัดมากขึ้น/ให้หลักเศรษฐกิจพอเพียง 23.48%
อันดับที่ 3 ทุกฝ่ายควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศก่อน 15.65%
อันดับที่ 4 ลดราคาน้ำมันเพื่อระบบขนส่งที่ถูกลงและเร่งหาพลังงานทดแทนน้ำมัน 10.43%
อันดับที่ 5 ปรับค่าครองชีพ/เงินเดือน 3.48%
5. ภูมิภาคหรือพื้นที่ที่ได้รับความเดือดร้อนมากที่สุด คือ
อันดับที่ 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21.19%
อันดับที่ 2 กรุงเทพมหานคร 20.14%
อันดับที่ 3 ภาคกลาง 19.99%
อันดับที่ 4 ภาคใต้ 19.52%
อันดับที่ 5 ภาคเหนือ 19.16%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
คน ระหว่างวันที่ 20 - 31 พฤษภาคม 2549 พบว่า ราคาสินค้าที่แพงขึ้นเป็นความเดือดร้อนอันดับที่ 1 ที่เป็นปัญหามากที่สุด สวนดุสิตโพล จึงขอนำ
เสนอข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้เป็นแนวทางแก้ไขสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะได้นำไปเป็นข้อมูลประกอบการแก้ไขที่เป็นรูปธรรมต่อไป
1. ประเภทสินค้าที่ราคาแพงขึ้นจนสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน คือ
อันดับที่ 1 เครื่องอุปโภคบริโภค 42.06%
อันดับที่ 2 ราคาน้ำมันที่สูงขึ้น 34.27%
อันดับที่ 3 อาหารสด / ของสด 14.80%
อันดับที่ 4 ค่าโดยสาร 5.76%
อันดับที่ 5 ก๊าซหุงต้ม 3.11%
2. ประเด็นความเดือดร้อนที่เกิดจากราคาสินค้าแพง
อันดับที่ 1 รายได้ไม่พอซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคทำให้เป็นหนี้สิน 47.44%
อันดับที่ 2 เครียดกับการหาเงินมาใช้จ่าย 24.82%
อันดับที่ 3 ต้องประหยัดในการใช้จ่ายมากขึ้น 19.71%
อันดับที่ 4 เป็นสินค้าที่ต้องใช้อุปโภคบริโภคเป็นประจำ 8.03%
3. ทำไม? ราคาสินค้าจึงแพงในสายตาประชาชน
อันดับที่ 1 น้ำมันแพง/ต้นทุนการผลิตแพง 53.07%
อันดับที่ 2 พ่อค้าขูดรีดเอากำไรมากเกินไป/พ่อค้าฉวยโอกาส 27.93%
อันดับที่ 3 รัฐบาล/หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องไม่สอดส่องดูแลอย่างจริงจัง 10.62%
* อื่นๆ เช่น ค่าเงินบาทผันผวน,เศรษฐกิจตกต่ำ,การเมืองวุ่นวายทำให้นักการเมืองไม่มีเวลาสนใจ ฯลฯ 8.38%
4. แนวทางการแก้ไขปัญหาสินค้าราคาแพงที่เป็นรูปธรรมในสายตาประชาชน
อันดับที่ 1 ควรมีการควบคุมราคาสินค้าให้เป็นมาตรฐาน/ไม่ควรขึ้นราคาพร้อมกันหมด 46.96%
อันดับที่ 2 ช่วยเหลือตัวเองก่อน/ใช้จ่ายเท่าที่จำเป็น/ประหยัดมากขึ้น/ให้หลักเศรษฐกิจพอเพียง 23.48%
อันดับที่ 3 ทุกฝ่ายควรร่วมมือกันแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศก่อน 15.65%
อันดับที่ 4 ลดราคาน้ำมันเพื่อระบบขนส่งที่ถูกลงและเร่งหาพลังงานทดแทนน้ำมัน 10.43%
อันดับที่ 5 ปรับค่าครองชีพ/เงินเดือน 3.48%
5. ภูมิภาคหรือพื้นที่ที่ได้รับความเดือดร้อนมากที่สุด คือ
อันดับที่ 1 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21.19%
อันดับที่ 2 กรุงเทพมหานคร 20.14%
อันดับที่ 3 ภาคกลาง 19.99%
อันดับที่ 4 ภาคใต้ 19.52%
อันดับที่ 5 ภาคเหนือ 19.16%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-