“สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้จัดทำดัชนีความเชื่อมั่น “การเมืองไทย” ประจำ
เดือนเมษายน 2548 โดยสำรวจความคิดเห็นจากประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จำนวน 5,576 คน ระหว่าง
วันที่ 20 — 30 เมษายน 2548 ซึ่งจะเปรียบเทียบประเด็นต่างๆ 25 ประเด็น (ตัวชี้วัดที่ทำให้การเมืองไทยดีขึ้น
หรือแย่ลง) ระหว่างเดือนมีนาคม 2548 ที่ผ่านมากับเดือนเมษายน 2548 โดยกำหนดฐานตัวเลขของการเมือง
ไทยในเดือนมีนาคม 2548 อยู่ที่ระดับ 100 ผลปรากฏว่า ดัชนีค่าความเชื่อมั่นต่อ “การเมืองไทย” ในเดือน
เมษายน 2548 อยู่ที่ระดับ 102.65 เพิ่มขึ้น +2.65
เมื่อพิจารณาค่าความเชื่อมั่นพบว่า ดัชนี 15 ตัวชี้วัดมีค่าความเชื่อมั่น “เพิ่มขึ้น” คือ
อันดับที่ 1 ข่าวสารที่เผยแพร่จากสื่อต่างๆ ให้ประชาชนได้รับรู้ 114.51
อันดับที่ 2 ผลงานของนายกรัฐมนตรี 114.34
อันดับที่ 3 การแก้ปัญหายาเสพติด 111.95
อันดับที่ 4 การพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า 110.66
อันดับที่ 5 ผลงานของรัฐบาล 110.14
อันดับที่ 6 การบริหารประเทศตามนโยบายที่ประกาศไว้ 109.85
อันดับที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับประชาชน 108.52
อันดับที่ 8 การปฏิบัติงานของฝ่ายค้าน 108.50
อันดับที่ 9 การดำเนินงานของพรรคการเมืองโดยภาพรวม 108.30
อันดับที่ 10 การแก้ปัญหาผู้มีอิทธิพล 107.64
อันดับที่ 11 การแก้ปัญหาต่างๆ ของรัฐบาลในภาพรวม 107.07
อันดับที่ 12 การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรอิสระ 106.81
อันดับที่ 13 ความสามัคคีของคนในชาติ 100.78
อันดับที่ 14 สภาพของสังคมโดยภาพรวม 100.60
อันดับที่ 15 การแก้ปัญหาความยากจน 100.41
ดัชนี 10 ตัวที่มีค่าความเชื่อมั่น “ลดลง” คือ
อันดับที่ 1 ราคาสินค้า 82.66
อันดับที่ 2 ความมั่นคงของประเทศ / การก่อการร้าย 86.77
อันดับที่ 3 ค่าครองชีพ/ เงินเดือน/ ค่าจ้าง/ สวัสดิการ 93.04
อันดับที่ 4 จริยธรรม / วัฒนธรรมของคนในชาติ 95.36
อันดับที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 96.59
อันดับที่ 6 การแก้ปัญหาคอรัปชั่น 96.71
อันดับที่ 7 การปฏิบัติตนของนักการเมือง /ความสามัคคีของนักการเมือง 97.62
อันดับที่ 8 ความเป็นอยู่ของประชาชน 97.69
อันดับที่ 9 สภาพเศรษฐกิจโดยภาพรวม 98.48
อันดับที่ 10 การแก้ปัญหาการว่างงาน 99.43
“สวนดุสิตโพล” จะสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นทางการเมืองไทยเป็นประจำทุกเดือน เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูล (Database) อันจะส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางการเมืองไทยที่ดียิ่งขึ้น
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
เดือนเมษายน 2548 โดยสำรวจความคิดเห็นจากประชาชนทุกสาขาอาชีพทั่วประเทศ จำนวน 5,576 คน ระหว่าง
วันที่ 20 — 30 เมษายน 2548 ซึ่งจะเปรียบเทียบประเด็นต่างๆ 25 ประเด็น (ตัวชี้วัดที่ทำให้การเมืองไทยดีขึ้น
หรือแย่ลง) ระหว่างเดือนมีนาคม 2548 ที่ผ่านมากับเดือนเมษายน 2548 โดยกำหนดฐานตัวเลขของการเมือง
ไทยในเดือนมีนาคม 2548 อยู่ที่ระดับ 100 ผลปรากฏว่า ดัชนีค่าความเชื่อมั่นต่อ “การเมืองไทย” ในเดือน
เมษายน 2548 อยู่ที่ระดับ 102.65 เพิ่มขึ้น +2.65
เมื่อพิจารณาค่าความเชื่อมั่นพบว่า ดัชนี 15 ตัวชี้วัดมีค่าความเชื่อมั่น “เพิ่มขึ้น” คือ
อันดับที่ 1 ข่าวสารที่เผยแพร่จากสื่อต่างๆ ให้ประชาชนได้รับรู้ 114.51
อันดับที่ 2 ผลงานของนายกรัฐมนตรี 114.34
อันดับที่ 3 การแก้ปัญหายาเสพติด 111.95
อันดับที่ 4 การพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า 110.66
อันดับที่ 5 ผลงานของรัฐบาล 110.14
อันดับที่ 6 การบริหารประเทศตามนโยบายที่ประกาศไว้ 109.85
อันดับที่ 7 การจัดการศึกษาสำหรับประชาชน 108.52
อันดับที่ 8 การปฏิบัติงานของฝ่ายค้าน 108.50
อันดับที่ 9 การดำเนินงานของพรรคการเมืองโดยภาพรวม 108.30
อันดับที่ 10 การแก้ปัญหาผู้มีอิทธิพล 107.64
อันดับที่ 11 การแก้ปัญหาต่างๆ ของรัฐบาลในภาพรวม 107.07
อันดับที่ 12 การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรอิสระ 106.81
อันดับที่ 13 ความสามัคคีของคนในชาติ 100.78
อันดับที่ 14 สภาพของสังคมโดยภาพรวม 100.60
อันดับที่ 15 การแก้ปัญหาความยากจน 100.41
ดัชนี 10 ตัวที่มีค่าความเชื่อมั่น “ลดลง” คือ
อันดับที่ 1 ราคาสินค้า 82.66
อันดับที่ 2 ความมั่นคงของประเทศ / การก่อการร้าย 86.77
อันดับที่ 3 ค่าครองชีพ/ เงินเดือน/ ค่าจ้าง/ สวัสดิการ 93.04
อันดับที่ 4 จริยธรรม / วัฒนธรรมของคนในชาติ 95.36
อันดับที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 96.59
อันดับที่ 6 การแก้ปัญหาคอรัปชั่น 96.71
อันดับที่ 7 การปฏิบัติตนของนักการเมือง /ความสามัคคีของนักการเมือง 97.62
อันดับที่ 8 ความเป็นอยู่ของประชาชน 97.69
อันดับที่ 9 สภาพเศรษฐกิจโดยภาพรวม 98.48
อันดับที่ 10 การแก้ปัญหาการว่างงาน 99.43
“สวนดุสิตโพล” จะสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นทางการเมืองไทยเป็นประจำทุกเดือน เพื่อการพัฒนาฐานข้อมูล (Database) อันจะส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางการเมืองไทยที่ดียิ่งขึ้น
--สวนดุสิตโพล--
-พห-