“สวนดุสิตโพล” สถาบันราชภัฎสวนดุสิต ได้ดำเนินการประเมินผลการอภิปรายเชิงวิเคราะห์ในลักษณะ
Focus Groups ในสถานการณ์จริง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 54 คน เฝ้าติดตามชมการถ่ายทอดสด การอภิปรายไม่ไว้
วางใจ ในวันที่ 27 มิถุนายน 2548 (เวลา 17.30 — 20.20 น.) สรุปผลได้ดังนี้
ข้อ ประเด็นในการพิจารณา รายชื่อผู้อภิปราย (ช่วงที่ 2 เวลา 17.30 - 20.20 น.)
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ นายถาวร เสนเนียม นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ นายศิริโชค โสภา
1 เนื้อหาที่นำมาอภิปรายตรงประเด็น 8 7.46 8.1 8.2 7.79
2 หลักฐาน เอกสารที่นำมาประกอบ 6.81 7.42 7.03 8.3 8.54
ในการอภิปราย
3 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ 7.69 7 7.48 7.87 7.86
4 ลีลา รูปแบบในการอภิปราย 8.08 7.21 7.73 7.4 7.37
5 ความเหมาะสมของถ้อยคำ 8.19 7.57 7.43 7.93 7.62
ที่ใช้ในการอภิปราย
6 การใช้เวลา /การควบคุมเวลา 8.32 7.28 7.75 7.92 7.45
7 ความเคารพในกติกา มารยาท 8.23 7.25 7.33 8.23 8.04
ในที่ประชุม
8 การควบคุมอารมณ์ 8.04 7.53 7.17 8 8.21
ในขณะที่กำลังอภิปราย
9 ผู้อภิปรายมีความเหมาะสมกับ 8.87 7.36 7.88 8.36 8.36
ประเด็นที่อภิปราย (ฝ่ายค้าน)
การชี้แจงประเด็นได้อย่างชัดเจน - - - - -
/ตรงประเด็น (ฝ่ายรัฐบาล)
10 ประโยชน์ที่ได้รับจากการอภิปราย 8.33 7.24 7.89 8.6 8.52
รวมคะแนนเต็ม 100 80.56 73.32 75.79 80.81 79.76
“จุดเด่น” ในการอภิปราย ใช้เวลาในการอภิปราย พูดได้กระชับ ครอบคลุม เตรียมข้อมูลมาดี บุคลิก เตรียมเอกสารข้อมูลมาดี เตรียมข้อมูลมาดี มีเอกสาร
กระชับ สรุปได้ดี ทุกเรื่อง ในการพูดดี คล่องแคล่ว พูดจาคล่องแคล่ว มาแสดงน่าเชื่อถือ สรุปได้ดี
“จุดด้อย” ในการอภิปราย เอกสารหลักฐานไม่ค่อยชัดเจน ใช้เวลาในการพูดน้อยไป ใช้อารมณ์ในการพูด ในการอภิปรายยังไม่ บางข้อมูลที่นำมาพูดซ้ำกับคนอื่น
ข้อมูลไม่มีน้ำหนักเท่าที่ควร จับประเด็นไม่ทัน บางคำรุนแรง พูดไม่ค่อยตรง เจาะลึกเท่าที่ควร ใช้เวลานานเกินไป น่าเบื่อ
ประเด็น พูดตามประเด็นไปเรื่อยๆ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
Focus Groups ในสถานการณ์จริง โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 54 คน เฝ้าติดตามชมการถ่ายทอดสด การอภิปรายไม่ไว้
วางใจ ในวันที่ 27 มิถุนายน 2548 (เวลา 17.30 — 20.20 น.) สรุปผลได้ดังนี้
ข้อ ประเด็นในการพิจารณา รายชื่อผู้อภิปราย (ช่วงที่ 2 เวลา 17.30 - 20.20 น.)
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ นายถาวร เสนเนียม นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล นายชาญชัย อิสระเสนารักษ์ นายศิริโชค โสภา
1 เนื้อหาที่นำมาอภิปรายตรงประเด็น 8 7.46 8.1 8.2 7.79
2 หลักฐาน เอกสารที่นำมาประกอบ 6.81 7.42 7.03 8.3 8.54
ในการอภิปราย
3 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ 7.69 7 7.48 7.87 7.86
4 ลีลา รูปแบบในการอภิปราย 8.08 7.21 7.73 7.4 7.37
5 ความเหมาะสมของถ้อยคำ 8.19 7.57 7.43 7.93 7.62
ที่ใช้ในการอภิปราย
6 การใช้เวลา /การควบคุมเวลา 8.32 7.28 7.75 7.92 7.45
7 ความเคารพในกติกา มารยาท 8.23 7.25 7.33 8.23 8.04
ในที่ประชุม
8 การควบคุมอารมณ์ 8.04 7.53 7.17 8 8.21
ในขณะที่กำลังอภิปราย
9 ผู้อภิปรายมีความเหมาะสมกับ 8.87 7.36 7.88 8.36 8.36
ประเด็นที่อภิปราย (ฝ่ายค้าน)
การชี้แจงประเด็นได้อย่างชัดเจน - - - - -
/ตรงประเด็น (ฝ่ายรัฐบาล)
10 ประโยชน์ที่ได้รับจากการอภิปราย 8.33 7.24 7.89 8.6 8.52
รวมคะแนนเต็ม 100 80.56 73.32 75.79 80.81 79.76
“จุดเด่น” ในการอภิปราย ใช้เวลาในการอภิปราย พูดได้กระชับ ครอบคลุม เตรียมข้อมูลมาดี บุคลิก เตรียมเอกสารข้อมูลมาดี เตรียมข้อมูลมาดี มีเอกสาร
กระชับ สรุปได้ดี ทุกเรื่อง ในการพูดดี คล่องแคล่ว พูดจาคล่องแคล่ว มาแสดงน่าเชื่อถือ สรุปได้ดี
“จุดด้อย” ในการอภิปราย เอกสารหลักฐานไม่ค่อยชัดเจน ใช้เวลาในการพูดน้อยไป ใช้อารมณ์ในการพูด ในการอภิปรายยังไม่ บางข้อมูลที่นำมาพูดซ้ำกับคนอื่น
ข้อมูลไม่มีน้ำหนักเท่าที่ควร จับประเด็นไม่ทัน บางคำรุนแรง พูดไม่ค่อยตรง เจาะลึกเท่าที่ควร ใช้เวลานานเกินไป น่าเบื่อ
ประเด็น พูดตามประเด็นไปเรื่อยๆ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-