หลังจากการยุบสภาที่ผ่านมาทำให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 เมษายน 2549 นั้น ทางพรรคร่วมฝ่ายค้านที่นำโดยพรรคประชาธิปัตย์ได้มี
มติที่จะไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงรับเลือกตั้งในครั้งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ครั้งใหม่ในการเมือง “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
ดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพที่ชอบพรรคฝ่ายค้านซึ่งพักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลเกี่ยวกับกรณีนี้ จำนวนทั้ง
สิ้น 1,245 คน โดยแยกเป็น (ชอบพรรคประชาธิปัตย์ 795 คน 63.86% ชอบพรรคชาติไทย 396 คน 31.81% ชอบพรรคมหาชน
54 คน 4.34% ) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 2 มีนาคม 2549 สรุปผลได้ดังนี้
1. หากพรรคการเมืองที่ชอบไม่ส่ง ส.ส. ลงสมัครในเขตเลือกตั้ง “ประชาชน” จะทำอย่างไร?
ความคิดเห็น ชอบ ปชป. ชอบ ชท. ชอบมหาชน ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไปแต่งดออกเสียง 54.15% 29.23% 41.18% 41.52%
เพราะ ต้องการไปใช้สิทธิ์ ไม่อยากเสียสิทธิ์,ไปทำตามหน้าที่,ไม่รู้จะเลือกใครดี ไม่มีผู้ที่ชอบลงสมัคร ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไปแต่เลือกพรรคอื่น 23.83% 32.31% 29.41% 28.52%
เพราะ ชอบบุคคลมากกว่าพรรค,ต้องการใช้สิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ,พรรคอื่นก็สามารถทำงานได้เหมือนกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ไปใช้สิทธิ์เลย 15.16% 34.62% 23.53% 24.44%
เพราะ ต้องการเลือกผู้ที่ชอบจากพรรคที่ต้องการเท่านั้น,ไม่ชอบพรรคอื่นที่ลงสมัคร,ไม่รู้จะเลือกใครดี ฯลฯ
* อื่นๆ คือ ยังไม่ได้ตัดสินใจต้องรอดูก่อน ฯลฯ 6.86% 3.84% 5.88% 5.52%
2. “ประชาชน” รู้สึกผิดหวังหรือไม่? ที่พรรคการเมืองที่ชอบไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงเลือกตั้ง
ความคิดเห็น ชอบ ปชป. ชอบ ชท. ชอบมหาชน ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ผิดหวัง 41.85% 33.07% 43.75% 39.56%
เพราะ คิดว่าหัวหน้าพรรคของแต่ละพรรคคงไตร่ตรองมาดีแล้วก่อนที่จะตัดสินใจ,เป็นการแสดงจุดยืนของพรรค ฯลฯ
อันดับที่ 2 ผิดหวัง 34.44% 41.73% 31.25% 35.81%
เพราะ เป็นการกระทำที่ไม่ได้ทำเพื่อประชาธิปไตยแต่เพื่อพรรคมากกว่า,อยากให้ต่อสู้กันตามกติกา,เป็นการเล่นเกมการเมืองกันมาก
ไปโดยไม่คำนึงถึงประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 23.71% 25.20% 25.00% 24.63%
เพราะ ต่างฝ่ายต่างเล่นเกมการเมืองกัน,ไม่ได้คาดหวังอะไรมากนัก,เป็นเรื่องของพรรคที่จะตัดสินใจ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
มติที่จะไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงรับเลือกตั้งในครั้งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ครั้งใหม่ในการเมือง “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
ดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนทุกสาขาอาชีพที่ชอบพรรคฝ่ายค้านซึ่งพักอาศัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลเกี่ยวกับกรณีนี้ จำนวนทั้ง
สิ้น 1,245 คน โดยแยกเป็น (ชอบพรรคประชาธิปัตย์ 795 คน 63.86% ชอบพรรคชาติไทย 396 คน 31.81% ชอบพรรคมหาชน
54 คน 4.34% ) โดยสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 2 มีนาคม 2549 สรุปผลได้ดังนี้
1. หากพรรคการเมืองที่ชอบไม่ส่ง ส.ส. ลงสมัครในเขตเลือกตั้ง “ประชาชน” จะทำอย่างไร?
ความคิดเห็น ชอบ ปชป. ชอบ ชท. ชอบมหาชน ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไปแต่งดออกเสียง 54.15% 29.23% 41.18% 41.52%
เพราะ ต้องการไปใช้สิทธิ์ ไม่อยากเสียสิทธิ์,ไปทำตามหน้าที่,ไม่รู้จะเลือกใครดี ไม่มีผู้ที่ชอบลงสมัคร ฯลฯ
อันดับที่ 2 ไปแต่เลือกพรรคอื่น 23.83% 32.31% 29.41% 28.52%
เพราะ ชอบบุคคลมากกว่าพรรค,ต้องการใช้สิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ,พรรคอื่นก็สามารถทำงานได้เหมือนกัน ฯลฯ
อันดับที่ 3 ไม่ไปใช้สิทธิ์เลย 15.16% 34.62% 23.53% 24.44%
เพราะ ต้องการเลือกผู้ที่ชอบจากพรรคที่ต้องการเท่านั้น,ไม่ชอบพรรคอื่นที่ลงสมัคร,ไม่รู้จะเลือกใครดี ฯลฯ
* อื่นๆ คือ ยังไม่ได้ตัดสินใจต้องรอดูก่อน ฯลฯ 6.86% 3.84% 5.88% 5.52%
2. “ประชาชน” รู้สึกผิดหวังหรือไม่? ที่พรรคการเมืองที่ชอบไม่ส่งผู้สมัคร ส.ส. ลงเลือกตั้ง
ความคิดเห็น ชอบ ปชป. ชอบ ชท. ชอบมหาชน ภาพรวม
อันดับที่ 1 ไม่ผิดหวัง 41.85% 33.07% 43.75% 39.56%
เพราะ คิดว่าหัวหน้าพรรคของแต่ละพรรคคงไตร่ตรองมาดีแล้วก่อนที่จะตัดสินใจ,เป็นการแสดงจุดยืนของพรรค ฯลฯ
อันดับที่ 2 ผิดหวัง 34.44% 41.73% 31.25% 35.81%
เพราะ เป็นการกระทำที่ไม่ได้ทำเพื่อประชาธิปไตยแต่เพื่อพรรคมากกว่า,อยากให้ต่อสู้กันตามกติกา,เป็นการเล่นเกมการเมืองกันมาก
ไปโดยไม่คำนึงถึงประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 3 เฉยๆ 23.71% 25.20% 25.00% 24.63%
เพราะ ต่างฝ่ายต่างเล่นเกมการเมืองกัน,ไม่ได้คาดหวังอะไรมากนัก,เป็นเรื่องของพรรคที่จะตัดสินใจ ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-