การเมืองวุ่น!!! ทำประชาชนเครียดหนัก กว่า 68%
จากสถานการณ์ทางการเมืองทั้ง “การยุบสภา” “การชุมนุมขับไล่นายกฯทักษิณ” ซึ่งปรากฏเป็นข่าวในสื่อมวลชนทุกแขนงทั้งหนังสือพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ล้วนแต่มีผลต่อความรู้สึก นึกคิดของประชาชนโดยเฉพาะการติดตามข่าวและผลกระทบต่อจิตใจ ความเครียดของประชาชน “สวนดุสิตโพ
ล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,173 คน โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 27 - 28 กุมภาพันธ์ 2549 สรุปผลได้ดังนี้
1. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร/ติดตามชมอ่านข่าวสารของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 ติดตามข่าวสารมากขึ้น 54.22%
เพราะ อยากรู้อนาคตทางการเมืองว่าจะเป็นไปในทิศทางใด,กลัวจะเกิดเหตุการณ์รุนแรงและยืดเยื้อ,มีผลต่อประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เบื่อไม่อยากติดตาม 25.58%
เพราะ รู้สึกหมดศรัทธาในตัวนักการเมือง,ไม่ต้องการเห็นความแตกแยกและขาดความสามัคคีของคนไทยฯลฯ
อันดับที่ 3 ติดตามข่าวสารเหมือนเดิม 20.20%
เพราะ มีการนำเสนอจากสื่อประเภทต่างๆอย่างต่อเนื่อง, ปัจจุบันมีผู้ที่ติดตาม สนใจข่าวทางการเมืองมากขึ้นฯลฯ
2. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลต่อสภาพจิตใจของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 รู้สึกห่อเหี่ยว / หดหู่ 51.66%
อันดับที่ 2 รู้สึกเฉยๆ ไม่มีผล 48.34%
3. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลที่เพิ่มความเครียดของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 ทำให้เครียดมากขึ้น 68.54%
อันดับที่ 2 เหมือนเดิม/ไม่มีผล 31.46%
4. จากเหตุการณ์การเมือง ณ วันนี้ “ประชาชน” รู้สึกเป็นห่วง/หรือกังวลเกี่ยวกับอะไรมากที่สุด
อันดับที่ 1 สภาพเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของประชาชน 31.72%
อันดับที่ 2 เกรงว่าการชุมนุมประท้วงจะเกิดเหตุการณ์บานปลาย/การประท้วงที่รุนแรง 19.17%
อันดับที่ 3 ความไม่สามัคคีของคนในชาติ การทะเลาะเบาะแว้ง/ประเทศชาติขาดความสงบ 16.06%
อันดับที่ 4 ภาพพจน์ของประเทศในสายตาต่างชาติอีกทั้งไม่มีใครกล้าเข้ามาลงทุนในประเทศ 15.35%
อันดับที่ 5 กลัวเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง /ระบบประชาธิปไตยอาจมีการเปลี่ยนแปลง 11.92%
* อื่นๆ เช่น ประชาชนไม่สามารถรับรู้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น/อาจมีมือที่สามเข้ามาแทรกแซงฯลฯ 5.78%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
จากสถานการณ์ทางการเมืองทั้ง “การยุบสภา” “การชุมนุมขับไล่นายกฯทักษิณ” ซึ่งปรากฏเป็นข่าวในสื่อมวลชนทุกแขนงทั้งหนังสือพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ล้วนแต่มีผลต่อความรู้สึก นึกคิดของประชาชนโดยเฉพาะการติดตามข่าวและผลกระทบต่อจิตใจ ความเครียดของประชาชน “สวนดุสิตโพ
ล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จึงได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 1,173 คน โดยสำรวจ
ระหว่างวันที่ 27 - 28 กุมภาพันธ์ 2549 สรุปผลได้ดังนี้
1. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร/ติดตามชมอ่านข่าวสารของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 ติดตามข่าวสารมากขึ้น 54.22%
เพราะ อยากรู้อนาคตทางการเมืองว่าจะเป็นไปในทิศทางใด,กลัวจะเกิดเหตุการณ์รุนแรงและยืดเยื้อ,มีผลต่อประเทศชาติ ฯลฯ
อันดับที่ 2 เบื่อไม่อยากติดตาม 25.58%
เพราะ รู้สึกหมดศรัทธาในตัวนักการเมือง,ไม่ต้องการเห็นความแตกแยกและขาดความสามัคคีของคนไทยฯลฯ
อันดับที่ 3 ติดตามข่าวสารเหมือนเดิม 20.20%
เพราะ มีการนำเสนอจากสื่อประเภทต่างๆอย่างต่อเนื่อง, ปัจจุบันมีผู้ที่ติดตาม สนใจข่าวทางการเมืองมากขึ้นฯลฯ
2. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลต่อสภาพจิตใจของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 รู้สึกห่อเหี่ยว / หดหู่ 51.66%
อันดับที่ 2 รู้สึกเฉยๆ ไม่มีผล 48.34%
3. สถานการณ์ทางการเมืองมีผลที่เพิ่มความเครียดของ “ประชาชน” อย่างไร?
อันดับที่ 1 ทำให้เครียดมากขึ้น 68.54%
อันดับที่ 2 เหมือนเดิม/ไม่มีผล 31.46%
4. จากเหตุการณ์การเมือง ณ วันนี้ “ประชาชน” รู้สึกเป็นห่วง/หรือกังวลเกี่ยวกับอะไรมากที่สุด
อันดับที่ 1 สภาพเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของประชาชน 31.72%
อันดับที่ 2 เกรงว่าการชุมนุมประท้วงจะเกิดเหตุการณ์บานปลาย/การประท้วงที่รุนแรง 19.17%
อันดับที่ 3 ความไม่สามัคคีของคนในชาติ การทะเลาะเบาะแว้ง/ประเทศชาติขาดความสงบ 16.06%
อันดับที่ 4 ภาพพจน์ของประเทศในสายตาต่างชาติอีกทั้งไม่มีใครกล้าเข้ามาลงทุนในประเทศ 15.35%
อันดับที่ 5 กลัวเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง /ระบบประชาธิปไตยอาจมีการเปลี่ยนแปลง 11.92%
* อื่นๆ เช่น ประชาชนไม่สามารถรับรู้ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น/อาจมีมือที่สามเข้ามาแทรกแซงฯลฯ 5.78%
--สวนดุสิตโพล--
-พห-