“สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เฝ้าติดตามการอภิปรายอย่างใกล้ชิด ในลักษณะการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดย ใช้ประชาชนที่สนใจการเมืองประมาณ 53 คน นั่งเฝ้าติดตามการอภิปรายตลอดทั้งวัน ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองและมีการตรวจ สอบ ทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้าน ในวันที่ 31 พฤษภาคม 2553 ( ช่วงที่ 1 เวลา 10.00 -14.50) สรุปผลได้ดังนี้
ข้อ ประเด็นในการพิจารณา รายชื่อผู้อภิปราย นายวิทยา บูรณศิริ นายไชยา พรหมา นายสุนัย จุลพงศธร น.อ.อนุดิษฐ์ นาครทรรพ ร.ต.ท.เชาวรินทร์ 1 เนื้อหาที่นำมาอภิปรายตรงประเด็น 7.92 7.91 7.08 7.94 7.87 2 หลักฐาน เอกสารที่นำมาประกอบในการอภิปราย 6.81 5.71 6.32 7.71 7.86 3 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำมาใช้ 7.35 7.09 6.71 7.56 7.50 4 ลีลา รูปแบบในการอภิปราย 6.69 7.94 7.60 7.38 8.42 5 ความเหมาะสมของถ้อยคำที่ใช้ในการอภิปราย 7.70 8.15 6.73 8.13 7.21 6 การใช้เวลา /การควบคุมเวลา 8.29 8.49 6.29 8.10 8.07 7 ความเคารพในกติกา มารยาทในที่ประชุม 8.52 8.58 6.80 8.49 7.77 8 การควบคุมอารมณ์ในขณะที่กำลังอภิปราย 8.75 8.34 6.63 8.75 7.12 9 (ฝ่ายค้าน) ประเด็นที่อภิปรายเหมาะสม 8.04 7.96 7.00 8.23 7.96 (ฝ่ายรัฐบาล) การชี้แจงชัดเจน / ตรงประเด็น - - - - - 10 ประโยชน์ที่ได้รับจากการอภิปราย 7.84 7.63 6.81 7.81 7.71 รวมคะแนนเต็ม 10 7.84 7.91 6.81 8.01 7.74 “จุดเด่น” ในการอภิปราย ใช้คำที่ฟังเข้าใจง่าย พูดสุภาพ ภาษาเข้าใจง่าย มีลีลา ท่าทางดึงดูดความสนใจ พูดจาสุภาพ เตรียมตัว ลีลาอภิปรายดี
ครอบคลุม ตรงประเด็น นำเสนอตรงประเด็น ชัดเจน พูดเสียงดัง ฟังชัด เข้าใจง่าย มาดี มีหลักฐานประกอบ เสียงดัง ฟังชัด
“จุดด้อย” ในการอภิปราย อ่านจากเอกสารมากไป ไม่มีหลักฐานประกอบ พูดผิด พูดนอกประเด็น รูปภาพเล็กไป ดูไม่ชัด พูดยืดเยื้อนอกประเด็น น้ำเสียง ลีลาการพูดไม่น่าฟัง ใช้ถ้อยคำเสียดสี ยั่วยุ เนื้อหาเดิมๆ ไม่มีข้อมูลใหม่ การควบคุมอารมณ์
จะมีการติดตามและส่งผลให้เป็นระยะๆ
--สวนดุสิตโพล--