สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับ สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้ดำเนินการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey
Research) ความคิดเห็นของประชาชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล) เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชาย
แดนภาคใต้ผ่านนโยบายด้านการศึกษา การสำรวจนี้ใช้ทั้งวิธีการเชิงคุณภาพและปริมาณ (The Combination of Qualitative and
Quantitative Research) ผู้ที่ถูกสำรวจได้รับการสุ่มเพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเป้าหมายโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-stage Sampling) รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,039 ตัวอย่าง ดำเนินการสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 14 มีนาคม 2550 สรุปผลการสำรวจ
ได้ดังนี้
1. การแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในสายตาประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัด
คะแนนเต็ม 5 คะแนน
อันดับที่ ประเด็นการแก้ไขปัญหา 3 จังหวดชายแดนภาคใต้ ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 “ความจริงจัง” ของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ ในการแก้ปัญหา 3.35 3.21 3.48
2 “ทหาร” สามารถรักษาความปลอดภัยให้กับประชาชน 3.33 3.48 3.18
3 “ศอ.บต.” เป็นที่พึ่งของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดน 3.29 3.2 3.37
2. ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาความวุ่นวายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้สำเร็จ ในสายตาประชาชน
อันดับที่ ระยะเวลาในการแก้ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้สำเร็จ ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 คาดว่า 6-10 ปี 40.36% 41.01% 39.80%
2 คาดว่า 1-5 ปี 24.19% 25.27% 23.30%
3 คาดว่ามากกว่า 20 ปี 16.07% 14.56% 17.48%
4 คาดว่า 11-15 ปี 13.48% 15.31% 11.65%
5 คาดว่า 16-20 ปี 5.90% 3.85% 7.77%
3. ความคิดเห็นของประชาชนต่อแนวทางการใช้ “นโยบายสมานฉันท์” แก้ไขปัญหาภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อ “นโยบายสมานฉันท์” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 ยังไม่แน่ใจว่าถูกทางหรือไม่ 43.03% 40.21% 45.62%
เพราะ ปัจจุบันสถานการณ์ยังเหมือนเดิม,เป็นเพียงนโยบายยังไม่ปรากฏผลชัดเจน, อาจแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุด ฯลฯ
2 ดำเนินการถูกทางแล้ว 42.38% 39.92% 44.76%
เพราะ ทำให้ทุกคนรักกันเกิดความสามัคคี, ทำให้ทุกคนร่วมมือกัน,ทำให้ประชาชนเข้าใจเหตุการณ์,ต้องใช้เวลา ฯลฯ
3 ดำเนินการยังไม่ถูกทาง 14.59% 19.96% 9.62%
4. ความคิดเห็นต่อ “ความเหมาะสมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในการนำไปใช้กับประชาชนใน จังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เหมาะสม 79.99% 75.03% 84.52%
เพราะ การใช้ชีวิตพอเพียงทำให้ชีวิตมีความเป็นอยู่แบบพอดีพออยู่, การอยู่อย่างพอเพียง ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย
จะไม่มีการแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน, ได้รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีคุณค่ามากขึ้นและ พื้นที่อุดมสมบูรณ์ขึ้น ฯลฯ
2 ไม่เหมาะสม 15.25% 18.71% 12.09%
เพราะ สถานการณ์ยังไม่เกิดความสงบ,ประชาชนไม่มีความรู้ ไม่มีงานทำ ยากจน, ไม่สามารถนำมาใช้จริงได้ ฯลฯ
* ข้อเสนอแนะอื่นๆ 5.83% 8.22% 3.89%
คือ ประชาชนทุกคนควรยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง, การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล,
ประชาชนยังอยู่ด้วยความหวาดกลัว ทั้งด้านความปลอดภัยและความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจ ฯลฯ
5. ความคิดเห็นต่อการที่กระทรวงศึกษาใช้ “คุณธรรมนำความรู้” มาเป็นกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อกลยุทธ์ “คุณธรรมนำความรู้” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เห็นด้วย 78.65% 79.44% 78.18%
เพราะ คุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่เป็นหลักยึดนำจิตใจ ยิ่งถ้ามีความรู้ด้วยก็สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาให้เกิดผล
ในทางที่ดี, สถานศึกษาคือสถานที่ขัดเกลาเยาวชน ให้เยาวชนได้รับการศึกษาควบคู่กันไปทั้งคุณธรรมและความรู้ ฯลฯ
2 ไม่แน่ใจ 13.88% 10.75% 16.51%
เพราะ ไม่มีอะไรมารองรับโครงการต่างๆไว้, ไม่รู้นักเรียนจะเข้าใจคำว่าคุณธรรมมากน้อยเพียงใด /
คนบางกลุ่มอาจไม่เข้าใจ คุณธรรมไม่สามารถทำให้ดีขึ้น, ไม่รู้ว่าจะเกี่ยวกันไหม ฯลฯ
3 ไม่เห็นด้วย 7.47% 9.80% 5.31%
คือ ไม่มีผลใดๆต่อการแก้ปัญหา/ คุณธรรมนั้นเป็นสิ่งที่ต้องมีทุกชาติทุกศาสนาอยู่แล้ว, อาจใช้เวลานานเกินไปในการแก้ปัญหา,
คนก่อการร้ายไม่มีคุณธรรม คงไม่ได้ผล ฯลฯ
6.ความคาดหวังต่อหน้าที่/บทบาทของ ศอ.บต. ในการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับ ความคาดหวังต่อหน้าที่/บทบาทของศอ.บต.ในการแก้ไขปัญหา ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เป็นองค์กรที่ช่วยเหลือประชาชนโดยการเข้าถึงประชาชนและรับฟังปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้น /
เป็นขวัญและกำลังใจให้กับประชาชน 52.91% 50.27% 56.27%
2 มีรูปแบบการทำงานที่ชัดเจนและบริการให้เต็มที่ในทุกๆเรื่อง 13.05% 16.40% 8.82%
3 ช่วยกันดูแลความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้านโดยการสอดส่องดูแลหรือกวดขันอย่างเข้มงวด 12.74% 14.79% 10.16%
4 ดำเนินการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุดและรวดเร็ว 11.69% 9.68% 14.23%
5 เพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยตามหมู่บ้านหรือจุดล่อแหลมต่อการถูกทำร้ายทุกหมู่บ้าน 9.60% 8.88% 10.51%
7.ความคิดเห็นต่อการมุ่งเน้นความช่วยเหลือและสนับสนุนต่างๆไปที่คนไทยพุทธและคนไทยมุสลิม
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อการช่วยเหลือและสนับสนุนคนไทยพุทธและคนไทยมุสลิม ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 ช่วยเหลือและสนับสนุนอย่างเท่าเทียมกัน 81.80% 80.43% 83.18%
เพราะ,คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ในสถานที่และสภาวะเดียวกัน ควรได้รับความเท่าเทียมกัน /
ควรสร้างความเสมอภาคจะได้ไม่เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน, ไม่ควรแบ่งแยกศาสนา ฯลฯ
2 มุ่งเน้นไปที่คนไทยมุสลิมมากกว่า 15.49% 16.54% 14.41%
เพราะ ปัญหามาจากคนไทยมุสลิมที่ไม่ยอมเข้าใจปัญหาและมีจำนวนมากกว่าคนไทยพุทธ,
คนไทยมุสลิมถูกทำร้ายมากกว่าแต่ไม่ได้นำออกเผยแพร่มากนัก /
คนไทยมุสลิมได้รับความเป็นธรรมน้อยมาก ฯลฯ
3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 2.70% 3.03% 2.42%
คือ ไม่ควรช่วยเหลือชาวมุสลิมเพราะได้รับมาเยอะแล้วและพวกเราเสียไปเยอะแล้ว,
พื้นที่ไหนเดือดร้อนกว่ากันควรมีการแบ่งพื้นที่ในการดูแล, ชาวมุสลิมต้องให้ความร่วมมือก่อนเพื่อที่
จะได้ช่วยเหลือกันและอยู่ในประเทศเดียวกันอย่างสงบ ฯลฯ
8.ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการแก้ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของกระทรวงศึกษาธิการ
อันดับ การดำเนินงานโครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความพึงพอใจ
ภาพ ไทย- ไทย-มุสลิม
รวม พุทธ
1 การปลูกฝังหลักคุณธรรมและจริยธรรมให้เหมาะสมกับหลักการของศาสนา 79.40% 81.00% 77.80%
2 การสร้างเครือข่ายให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและโรงเรียน 78.60% 79.80% 76.20%
3 การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 78.40% 80.80% 76.20%
4 การให้ทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนเพื่อเพิ่มโอกาสในการศึกษา 78.20% 78.20% 78.60%
5 การดำเนินมาตรการการรักษาความปลอดภัยของครู/นักเรียน และประชาชนในพื้นที่ 77.80% 79.80% 76.20%
6 การจัดการเรียนการสอนเสริมให้กับนักเรียนม. 6 เพื่อเพิ่มโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 77.60% 77.40% 77.60%
7 การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตและอาชีพเบื้องต้นให้แก่ประชาชน 76.80% 77.80% 76.00%
8 การให้เงินช่วยเหลือด้านกองทุนการศึกษาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ 76.00% 75.00% 77.00%
9 การจัดกิจกรรมให้เยาวชนต่างๆ เช่น ค่ายยุวชนสัมพันธ์,โครงการทัศนศึกษาไปตามจังหวัดต่างๆ,การชุมนุมลูกเสือ ฯลฯ 74.80% 74.80% 75.00%
10 การส่งเสริมการเรียนรู้ทั้ง 2 ภาษา (ไทย-มลายู) 74.20% 69.60% 78.00%
11 การจัดการศึกษานอกโรงเรียนให้แก่ประชาชนทั่วไปใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และนักเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะ 74.20% 71.60% 76.20%
12 การพัฒนาโครงสร้างและบุคลากรของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและสถาบันศึกษาปอเนาะ เช่น
การดูงานที่มาเลเซีย, การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้สอนอิสลามศึกษา ฯลฯ 73.60% 71.60% 75.20%
13 การเปิดสอนอิสลามศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในโรงเรียนของรัฐ 72.40% 68.80% 75.80%
14 การให้เงินอุดหนุนการเรียนการสอนอิสลามศึกษา 72.40% 68.60% 75.60%
9. ความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ที่กระทรวงศึกษาธิการดำเนินอยู่
9.1 โครงการที่ประชาชนคิดว่าไม่มีประโยชน์และควรยกเลิก
- ประชาชนส่วนใหญ่ 91.91% คิดว่าโครงการทั้งหมดมีประโยชน์และไม่ควรยกเลิก
- มีประชาชนส่วนน้อยเพียง 8.09% คิดว่าควรยกเลิกโครงการต่อไปนี้
อันดับ โครงการที่ไม่เป็นประโยชน์และควรยกเลิก ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 การอบรมดูงานต่างประเทศเป็นการใช้งบประมาณเกินความต้องการ 1.17% 1.83% 0.56%
2 การส่งเสริมการเรียนรู้ทั้ง 2 ภาษา 0.88% 1.73% 0.09%
3 การจัดกิจกรรมพาเด็กเยาวชนไปทัศนศึกษาตามสถานที่ต่างๆ เพราะยังไม่ค่อยมีความปลอดภัย 0.59% 1.12% 0.09%
4 โครงการจ้างงาน 0.54% 0.91% 0.28%
5 การให้เงินอุดหนุนการเรียนการสอนอิสลามศึกษา 0.49% 1.12% -
ฯลฯ
9.2 โครงการที่ประชาชนคิดว่าน่าจะมีเพิ่มเติม
- ประชาชนส่วนใหญ่ 84.35% คิดว่าโครงการที่มีอยู่ดีอยู่แล้วไม่ต้องเพิ่มเติม
- ประชาชนส่วนน้อย 15.65% คิดว่าควรเพิ่มเติมโครงการดังต่อไปนี้
อันดับ โครงการที่อยากให้มีเพิ่มเติม ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 โครงการจัดหางานและฝึกอบรมอาชีพให้กับเยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.08% 3.90% 2.34%
2 โครงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานราชการกับชุมชน เพื่อให้เกิดความสามัคคีระหว่าง
คนไทย-พุทธและคนไทย-มุสลิม มีการศึกษาวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน / การแสดงวัฒนธรรมมลายู 2.30% 4.21% 0.56%
3 โครงการเรียนดีมีทุนให้ / ทุนเรียนดีสำหรับเด็กยากจนจนจบ ป. ตรี 2.15% 2.05% 2.25%
4 โครงการรักษาความปลอดภัย 1.52% 2.15% 0.94%
5 โครงการทำศูนย์ความรู้ให้กับประชาชน เช่น จัดทำห้องสมุด 1.12% 1.13% 1.12%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-
Research) ความคิดเห็นของประชาชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล) เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชาย
แดนภาคใต้ผ่านนโยบายด้านการศึกษา การสำรวจนี้ใช้ทั้งวิธีการเชิงคุณภาพและปริมาณ (The Combination of Qualitative and
Quantitative Research) ผู้ที่ถูกสำรวจได้รับการสุ่มเพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มเป้าหมายโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
(Multi-stage Sampling) รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,039 ตัวอย่าง ดำเนินการสำรวจระหว่างวันที่ 1 — 14 มีนาคม 2550 สรุปผลการสำรวจ
ได้ดังนี้
1. การแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในสายตาประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัด
คะแนนเต็ม 5 คะแนน
อันดับที่ ประเด็นการแก้ไขปัญหา 3 จังหวดชายแดนภาคใต้ ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 “ความจริงจัง” ของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ ในการแก้ปัญหา 3.35 3.21 3.48
2 “ทหาร” สามารถรักษาความปลอดภัยให้กับประชาชน 3.33 3.48 3.18
3 “ศอ.บต.” เป็นที่พึ่งของประชาชนใน 3 จังหวัดชายแดน 3.29 3.2 3.37
2. ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาความวุ่นวายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้สำเร็จ ในสายตาประชาชน
อันดับที่ ระยะเวลาในการแก้ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้สำเร็จ ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 คาดว่า 6-10 ปี 40.36% 41.01% 39.80%
2 คาดว่า 1-5 ปี 24.19% 25.27% 23.30%
3 คาดว่ามากกว่า 20 ปี 16.07% 14.56% 17.48%
4 คาดว่า 11-15 ปี 13.48% 15.31% 11.65%
5 คาดว่า 16-20 ปี 5.90% 3.85% 7.77%
3. ความคิดเห็นของประชาชนต่อแนวทางการใช้ “นโยบายสมานฉันท์” แก้ไขปัญหาภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อ “นโยบายสมานฉันท์” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 ยังไม่แน่ใจว่าถูกทางหรือไม่ 43.03% 40.21% 45.62%
เพราะ ปัจจุบันสถานการณ์ยังเหมือนเดิม,เป็นเพียงนโยบายยังไม่ปรากฏผลชัดเจน, อาจแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุด ฯลฯ
2 ดำเนินการถูกทางแล้ว 42.38% 39.92% 44.76%
เพราะ ทำให้ทุกคนรักกันเกิดความสามัคคี, ทำให้ทุกคนร่วมมือกัน,ทำให้ประชาชนเข้าใจเหตุการณ์,ต้องใช้เวลา ฯลฯ
3 ดำเนินการยังไม่ถูกทาง 14.59% 19.96% 9.62%
4. ความคิดเห็นต่อ “ความเหมาะสมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในการนำไปใช้กับประชาชนใน จังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เหมาะสม 79.99% 75.03% 84.52%
เพราะ การใช้ชีวิตพอเพียงทำให้ชีวิตมีความเป็นอยู่แบบพอดีพออยู่, การอยู่อย่างพอเพียง ประหยัดไม่ฟุ่มเฟือย
จะไม่มีการแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน, ได้รู้จักใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้มีคุณค่ามากขึ้นและ พื้นที่อุดมสมบูรณ์ขึ้น ฯลฯ
2 ไม่เหมาะสม 15.25% 18.71% 12.09%
เพราะ สถานการณ์ยังไม่เกิดความสงบ,ประชาชนไม่มีความรู้ ไม่มีงานทำ ยากจน, ไม่สามารถนำมาใช้จริงได้ ฯลฯ
* ข้อเสนอแนะอื่นๆ 5.83% 8.22% 3.89%
คือ ประชาชนทุกคนควรยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง, การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล,
ประชาชนยังอยู่ด้วยความหวาดกลัว ทั้งด้านความปลอดภัยและความไม่มั่นคงทางเศรษฐกิจ ฯลฯ
5. ความคิดเห็นต่อการที่กระทรวงศึกษาใช้ “คุณธรรมนำความรู้” มาเป็นกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อกลยุทธ์ “คุณธรรมนำความรู้” ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เห็นด้วย 78.65% 79.44% 78.18%
เพราะ คุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่เป็นหลักยึดนำจิตใจ ยิ่งถ้ามีความรู้ด้วยก็สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาให้เกิดผล
ในทางที่ดี, สถานศึกษาคือสถานที่ขัดเกลาเยาวชน ให้เยาวชนได้รับการศึกษาควบคู่กันไปทั้งคุณธรรมและความรู้ ฯลฯ
2 ไม่แน่ใจ 13.88% 10.75% 16.51%
เพราะ ไม่มีอะไรมารองรับโครงการต่างๆไว้, ไม่รู้นักเรียนจะเข้าใจคำว่าคุณธรรมมากน้อยเพียงใด /
คนบางกลุ่มอาจไม่เข้าใจ คุณธรรมไม่สามารถทำให้ดีขึ้น, ไม่รู้ว่าจะเกี่ยวกันไหม ฯลฯ
3 ไม่เห็นด้วย 7.47% 9.80% 5.31%
คือ ไม่มีผลใดๆต่อการแก้ปัญหา/ คุณธรรมนั้นเป็นสิ่งที่ต้องมีทุกชาติทุกศาสนาอยู่แล้ว, อาจใช้เวลานานเกินไปในการแก้ปัญหา,
คนก่อการร้ายไม่มีคุณธรรม คงไม่ได้ผล ฯลฯ
6.ความคาดหวังต่อหน้าที่/บทบาทของ ศอ.บต. ในการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้
อันดับ ความคาดหวังต่อหน้าที่/บทบาทของศอ.บต.ในการแก้ไขปัญหา ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 เป็นองค์กรที่ช่วยเหลือประชาชนโดยการเข้าถึงประชาชนและรับฟังปัญหาทุกอย่างที่เกิดขึ้น /
เป็นขวัญและกำลังใจให้กับประชาชน 52.91% 50.27% 56.27%
2 มีรูปแบบการทำงานที่ชัดเจนและบริการให้เต็มที่ในทุกๆเรื่อง 13.05% 16.40% 8.82%
3 ช่วยกันดูแลความสงบเรียบร้อยในหมู่บ้านโดยการสอดส่องดูแลหรือกวดขันอย่างเข้มงวด 12.74% 14.79% 10.16%
4 ดำเนินการแก้ไขปัญหาให้ตรงจุดและรวดเร็ว 11.69% 9.68% 14.23%
5 เพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยตามหมู่บ้านหรือจุดล่อแหลมต่อการถูกทำร้ายทุกหมู่บ้าน 9.60% 8.88% 10.51%
7.ความคิดเห็นต่อการมุ่งเน้นความช่วยเหลือและสนับสนุนต่างๆไปที่คนไทยพุทธและคนไทยมุสลิม
อันดับที่ ความคิดเห็นต่อการช่วยเหลือและสนับสนุนคนไทยพุทธและคนไทยมุสลิม ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 ช่วยเหลือและสนับสนุนอย่างเท่าเทียมกัน 81.80% 80.43% 83.18%
เพราะ,คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ในสถานที่และสภาวะเดียวกัน ควรได้รับความเท่าเทียมกัน /
ควรสร้างความเสมอภาคจะได้ไม่เกิดปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน, ไม่ควรแบ่งแยกศาสนา ฯลฯ
2 มุ่งเน้นไปที่คนไทยมุสลิมมากกว่า 15.49% 16.54% 14.41%
เพราะ ปัญหามาจากคนไทยมุสลิมที่ไม่ยอมเข้าใจปัญหาและมีจำนวนมากกว่าคนไทยพุทธ,
คนไทยมุสลิมถูกทำร้ายมากกว่าแต่ไม่ได้นำออกเผยแพร่มากนัก /
คนไทยมุสลิมได้รับความเป็นธรรมน้อยมาก ฯลฯ
3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 2.70% 3.03% 2.42%
คือ ไม่ควรช่วยเหลือชาวมุสลิมเพราะได้รับมาเยอะแล้วและพวกเราเสียไปเยอะแล้ว,
พื้นที่ไหนเดือดร้อนกว่ากันควรมีการแบ่งพื้นที่ในการดูแล, ชาวมุสลิมต้องให้ความร่วมมือก่อนเพื่อที่
จะได้ช่วยเหลือกันและอยู่ในประเทศเดียวกันอย่างสงบ ฯลฯ
8.ความพึงพอใจต่อการดำเนินงานในการแก้ปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของกระทรวงศึกษาธิการ
อันดับ การดำเนินงานโครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความพึงพอใจ
ภาพ ไทย- ไทย-มุสลิม
รวม พุทธ
1 การปลูกฝังหลักคุณธรรมและจริยธรรมให้เหมาะสมกับหลักการของศาสนา 79.40% 81.00% 77.80%
2 การสร้างเครือข่ายให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างชุมชนและโรงเรียน 78.60% 79.80% 76.20%
3 การเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 78.40% 80.80% 76.20%
4 การให้ทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนเพื่อเพิ่มโอกาสในการศึกษา 78.20% 78.20% 78.60%
5 การดำเนินมาตรการการรักษาความปลอดภัยของครู/นักเรียน และประชาชนในพื้นที่ 77.80% 79.80% 76.20%
6 การจัดการเรียนการสอนเสริมให้กับนักเรียนม. 6 เพื่อเพิ่มโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 77.60% 77.40% 77.60%
7 การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตและอาชีพเบื้องต้นให้แก่ประชาชน 76.80% 77.80% 76.00%
8 การให้เงินช่วยเหลือด้านกองทุนการศึกษาแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบ 76.00% 75.00% 77.00%
9 การจัดกิจกรรมให้เยาวชนต่างๆ เช่น ค่ายยุวชนสัมพันธ์,โครงการทัศนศึกษาไปตามจังหวัดต่างๆ,การชุมนุมลูกเสือ ฯลฯ 74.80% 74.80% 75.00%
10 การส่งเสริมการเรียนรู้ทั้ง 2 ภาษา (ไทย-มลายู) 74.20% 69.60% 78.00%
11 การจัดการศึกษานอกโรงเรียนให้แก่ประชาชนทั่วไปใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และนักเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะ 74.20% 71.60% 76.20%
12 การพัฒนาโครงสร้างและบุคลากรของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามและสถาบันศึกษาปอเนาะ เช่น
การดูงานที่มาเลเซีย, การพัฒนาวิชาชีพครู ผู้สอนอิสลามศึกษา ฯลฯ 73.60% 71.60% 75.20%
13 การเปิดสอนอิสลามศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในโรงเรียนของรัฐ 72.40% 68.80% 75.80%
14 การให้เงินอุดหนุนการเรียนการสอนอิสลามศึกษา 72.40% 68.60% 75.60%
9. ความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ที่กระทรวงศึกษาธิการดำเนินอยู่
9.1 โครงการที่ประชาชนคิดว่าไม่มีประโยชน์และควรยกเลิก
- ประชาชนส่วนใหญ่ 91.91% คิดว่าโครงการทั้งหมดมีประโยชน์และไม่ควรยกเลิก
- มีประชาชนส่วนน้อยเพียง 8.09% คิดว่าควรยกเลิกโครงการต่อไปนี้
อันดับ โครงการที่ไม่เป็นประโยชน์และควรยกเลิก ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 การอบรมดูงานต่างประเทศเป็นการใช้งบประมาณเกินความต้องการ 1.17% 1.83% 0.56%
2 การส่งเสริมการเรียนรู้ทั้ง 2 ภาษา 0.88% 1.73% 0.09%
3 การจัดกิจกรรมพาเด็กเยาวชนไปทัศนศึกษาตามสถานที่ต่างๆ เพราะยังไม่ค่อยมีความปลอดภัย 0.59% 1.12% 0.09%
4 โครงการจ้างงาน 0.54% 0.91% 0.28%
5 การให้เงินอุดหนุนการเรียนการสอนอิสลามศึกษา 0.49% 1.12% -
ฯลฯ
9.2 โครงการที่ประชาชนคิดว่าน่าจะมีเพิ่มเติม
- ประชาชนส่วนใหญ่ 84.35% คิดว่าโครงการที่มีอยู่ดีอยู่แล้วไม่ต้องเพิ่มเติม
- ประชาชนส่วนน้อย 15.65% คิดว่าควรเพิ่มเติมโครงการดังต่อไปนี้
อันดับ โครงการที่อยากให้มีเพิ่มเติม ภาพรวม ไทย-พุทธ ไทย-มุสลิม
1 โครงการจัดหางานและฝึกอบรมอาชีพให้กับเยาวชนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.08% 3.90% 2.34%
2 โครงการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานราชการกับชุมชน เพื่อให้เกิดความสามัคคีระหว่าง
คนไทย-พุทธและคนไทย-มุสลิม มีการศึกษาวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน / การแสดงวัฒนธรรมมลายู 2.30% 4.21% 0.56%
3 โครงการเรียนดีมีทุนให้ / ทุนเรียนดีสำหรับเด็กยากจนจนจบ ป. ตรี 2.15% 2.05% 2.25%
4 โครงการรักษาความปลอดภัย 1.52% 2.15% 0.94%
5 โครงการทำศูนย์ความรู้ให้กับประชาชน เช่น จัดทำห้องสมุด 1.12% 1.13% 1.12%
ฯลฯ
--สวนดุสิตโพล--
-พห-