(ต่อ 4) การคำนวณและการรายงานการคำนวณเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ

ข่าวกฏหมายและประกาศ Friday January 16, 1998 14:17 —ประกาศ ก.ล.ต.

 ______________________________________________________________________________
| รายการ | คำอธิบาย |
|________________________|____________________________________________________|
| ค. ค่าความเสี่ยง |ประกอบด้วย ค่าความเสี่ยงของหลักประกัน บวกด้วย ค่าความเสี่ยง |
| |ของหลักทรัพย์ที่ให้ยืม ดังนี้ |
| | 1. ค่าความเสี่ยงของหลักประกัน เป็นค่าความเสี่ยงที่เกิดจาก |
| |หลักประกันที่ลูกค้านำมาวางเป็นประกัน อาจมีมูลค่าลดลงจากมูลค่า ณ |
| |วันที่รายงาน ให้คำนวณค่าความเสี่ยงโดยใช้เกณฑ์เดียวกับข้อ 5.1.2 |
| |เว้นแต่กรณีหลักประกันเป็นหุ้นจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ |
| |ซื้อขายหลักทรัพย์ต้องตรวจสอบด้วยว่าบริษัทหลักทรัพย์มีหลักประกัน |
| |กระจุกตัวในหุ้นใดหุ้นหนึ่งหรือไม่ ถ้ามีการกระจุกตัว กล่าวคือ มี |
| |จำนวนหุ้นใดหุ้นหนึ่งที่เป็นหลักประกันการชำระหนี้ของลูกค้าบัญชี |
| |มาร์จิ้นทุกรายรวมกันเกินกว่าร้อยละ 2.5 ของจำนวนหุ้นที่เรียก |
| |ชำระแล้วทั้งหมดของบริษัทที่ออกหุ้นนั้น (ตรวจสอบได้จากระบบ SIM |
| |ของตลาดหลักทรัพย์ฯ) ให้คำนวณค่าความเสี่ยงในอัตราร้อยละ 150 |
| |ของอัตราปกติที่กำหนดในข้อ 5.1.2 แต่ไม่เกินร้อยละ 100 ของ |
| |มูลค่าหุ้นนั้น |
| | |
| | 2. ค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์ที่ให้ยืม เป็นค่าความเสี่ยงที่ |
| |เกิดจากที่หนี้ของลูกค้าอาจเพิ่มขึ้น เนื่องจากหลักทรัพย์ที่ลูกค้ายืมเพื่อ |
| |ขายชอร์ตมีมูลค่าสูงขึ้นจากมูลค่า ณ วันที่รายงาน โดยให้คำนวณ |
| |ค่าความเสี่ยง = มูลค่าหลักทรัพย์ที่ลูกค้ายืม x อัตราค่าความเสี่ยง |
| |ของหลักทรัพย์ที่ลูกค้ายืมนั้น ทั้งนี้ อัตราค่าความเสี่ยงดังกล่าว ให้ใช้ |
| |อัตราเดียวกับข้อ 5.1.2 |
| |"หลักประกันหลังหักค่าความเสี่ยง" หมายถึง "หลักประกัน" ตาม |
| |ช่อง ข.หักด้วย "ค่าความเสี่ยง" ตามช่อง ค1.+ ค2. |
| | |
| 5.2.1 หลักประกันหลังหัก |หมายถึง ลูกหนี้รายที่มี "มูลหนี้" ต่ำกว่าหรือเท่ากับ "หลักประกัน |
| | |
| ค่าความเสี่ยงคุ้มหนี้ |หลังหักค่าความเสี่ยง" โดยในช่อง ก1. ก2. ข. ค1. และ ค2. |
| |ให้ใช้ผลรวมของมูลหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ มูลหนี้หลักทรัพย์ |
| |ที่ให้ยืม (ราคาตลาดของหลักทรัพย์นั้น) หลักประกัน ค่าความเสี่ยง |
| |ของหลักประกัน และค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์ที่ให้ยืมตามลำดับ |
| |ของลูกค้าทุกรายที่มีหลักประกันหลังหักค่าความเสี่ยงคุ้มหนี้ และใน |
| |ช่อง 5.2.1 ให้ใช้ "มูลหนี้" ตามช่อง ก1.+ ก2. เป็นสินทรัพย์ |
| |สภาพคล่องสุทธิ |
| | |
| 5.2.2 หลักประกันหลังหัก |หมายถึง ลูกหนี้รายที่มี "มูลหนี้" มากกว่า "หลักประกันหลังหักค่า |
| ค่าความเสี่ยงไม่คุ้ม |ความเสี่ยง" โดยในช่อง ก1. ก2. ข. ค1. และ ค2. ให้ใช้ |
| หนี้ |ผลรวมของมูลหนี้เงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย์ มูลหนี้หลักทรัพย์ที่ |
| |ให้ยืม (ราคาตลาดของหลักทรัพย์นั้น) หลักประกัน ค่าความเสี่ยง |
| |ของหลักประกัน และค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์ที่ให้ยืม ตามลำดับ |
| |ของลูกค้าทุกรายที่มีหลักประกันหลังหักค่าความเสี่ยงไม่คุ้มหนี้ และ |
| |ในช่อง 5.2.2 ให้ใช้ "หลักประกัน" ตามช่อง ข. หักด้วย "ค่า |
| |ความเสี่ยง" ตามช่อง ค1.+ ค2. เป็นสินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิ |
| | |
| 5.3 ลูกหนี้ยืมหลักทรัพย์ |ลูกค้าสถาบันที่ยืมหลักทรัพย์จากบริษัท โดยลูกค้าสถาบัน หมายถึง |
| (สถาบัน) |ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทกิจการการยืม |
| |และให้ยืมหลักทรัพย์ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ |
| |ที่ทำการขายชอร์ตเพื่อตนเอง สถาบันการเงินต่างประเทศที่ |
| |ทำการขายชอร์ตเพื่อตนเองหรือเพื่อลูกค้าที่มีภูมิลำเนาในต่าง |
| |ประเทศ และบุคคลอื่นที่สำนักงานประกาศกำหนด ทั้งนี้ ไม่รวม |
| |กรณีที่ลูกค้านั้น ไม่ส่งมอบหลักทรัพย์คืนตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา |
| |ซึ่งให้รายงานในข้อ 5.4: ลูกหนี้อื่น |
| | |
| ก. มูลหนี้ |มูลหนี้ที่เกิดจากการให้ยืมหลักทรัพย์ ซึ่งคำนวณโดยใช้มูลค่า |
| |หลักทรัพย์ที่ยืมตามราคาตลาด ณ วันที่รายงาน หรือถ้าไม่มี ให้ใช้ |
| |ราคาอื่น ที่เหมาะสม |
| | |
| ข. หลักประกัน |หลักประกันที่ลูกค้านำมาวางประกันในการยืมหลักทรัพย์ ทั้งนี้ |
| |เฉพาะหลักประกันประเภทที่ผู้ประกันการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ อาจ |
| |รับเป็นหลักประกันได้ ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และ |
| |ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. และประกาศสำนักงานที่เกี่ยวข้อง |
| |สำหรับการคำนวณมูลค่าหลักประกันให้ใช้เกณฑ์เดียวกับ ข้อ 5.1.2 |
| |โดยถ้าเงินสดที่ลูกค้านำมาวางเป็นสกุลเงินต่างประเทศ ให้แปลงค่า |
| |เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนที่สามารถอ้างอิงได้ ณ วันที่ |
| |รายงาน |
| | |
| ค. ค่าความเสี่ยง |ประกอบด้วย |
| |1. ค่าความเสี่ยงของหลักประกัน ให้คำนวณเช่นเดียวกับ ข้อ 5.2 |
| |2. ค่าความเสี่ยงของหลักทรัพย์ที่ให้ยืมที่เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน |
| |ใน SET 50 ให้คิดค่าความเสี่ยงในอัตราร้อยละ 5 ของมูลค่า |
| |หลักทรัพย์นั้น |
| | |
| 5.4 ลูกหนี้อื่น |ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ที่อยู่ระหว่างการฟ้องร้อง บังคับคดี ประนอมหนี้ |
| |หรือผ่อนชำระ รวมถึง ลูกค้า สถาบันที่ยืมหลักทรัพย์จากบริษัทและ |
| |ไม่ส่งมอบหลักทรัพย์คืนตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา และลูกหนี้ |
| |อื่น ๆ ของบริษัทหลักทรัพย์ที่มิใช่ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ (ถ้ามี) |
| | |
| ก. มูลหนี้ |ให้แสดงมูลหนี้ของลูกหนี้อื่น โดยใช้เกณฑ์เดียวกับข้อ 5.1 ถึง 5.3 |
| | |
| ข. ส่วนที่ครบกำหนดใน |หมายถึง มูลหนี้ของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์รายที่ทำได้สัญญาแปลง |
| 1 ปี |สภาพหนี้กับบริษัทหลักทรัพย์แล้ว และอยู่ระหว่างผ่อนชำระเฉพาะ |
| |ส่วนของมูลหนี้ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงมูลหนี้ของลูกหนี้รายที่ผิดนัดชำระ |
| |เงินตามกำหนดเวลาตั้งแต่ 3 งวดติดต่อกันขึ้นไป |
| | |
| ค. ค่าความเสี่ยง |ค่าความเสี่ยงของมูลหนี้ของลูกหนี้ผ่อนชำระส่วนที่ครบกำหนดใน 1 ปี |
| |โดยใช้อัตราความเสี่ยงเท่ากับร้อยละ 10 ของมูลหนี้ดังกล่าวในช่อง |
| |5.4 ให้แสดงมูลหนี้ส่วนที่ครบกำหนดใน 1 ปี ตามช่องข.หักด้วย |
| |ค่าความเสี่ยงตามช่อง ค. เป็นสินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิ |
| | |
| 5.5 บัญชีระหว่างบริษัทกับ |ยอดดุลสุทธิระหว่างบริษัทกับศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (TSD) ที่เกิด |
| ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ |จากการซื้อขายหลักทรัพย์รายวันเฉพาะส่วนที่ TSD มียอดสุทธิเป็น |
| |ลูกหนี้และยังค้างชำระกับบริษัท ให้ใช้ยอดสุทธิที่ TSD เป็นลูกหนี้ |
| |ทั้งหมดเป็นสินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิในช่อง 5.5 โดยไม่มีค่าปรับ |
| |ความเสี่ยง (ถ้าบริษัทมียอดดุลสุทธิกับ TSD ที่สะสมอยู่ในช่วง |
| |T+3 เป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ ให้แสดงยอดดุลสุทธิที่ TSD เป็นเจ้าหนี้ |
| |นั้นเป็นหนี้สินในรายการบัญชีระหว่างบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ใน |
| |ส่วนที่ 2 ข้อ 3 โดยไม่ให้หักกลบกับยอดสุทธิที่ TSD เป็นลูกหนี้ |
| | |
|6. ลูกหนี้ทรัพย์สินวางประกัน |ลูกหนี้ที่เกิดจากการที่บริษัทได้โอนทรัพย์สินไปให้แก่ผู้ให้ยืมหลักทรัพย์ |
| |เพื่อเป็นหลักทรัพย์ ให้คำนวณสินทรัพย์ ให้คำนวณสินทรัพย์สภาพคล่อง |
| |สุทธิโดยเปรียบเทียบระหว่าง "หลักประกันหลังหักค่าความเสี่ยงของ |
| |หลักประกัน" กับ "ร้อยละ 120 ของหลักทรัพย์ยืม" ของคู่สัญญา |
| |แต่ละราย ดังนี้ |
| | |
| ก. หลักทรัพย์ที่ยืม |มูลค่าหลักทรัพย์ที่บริษัทยืม โดยคำนวณตามราคาตลาด ณ วันที่ |
| |รายงาน หรือถ้าไม่มีให้ใช้ราคาอื่นที่เหมาะสม |
| | |
| ข. หลักประกัน |มูลค่าทรัพย์สินที่บริษัทหลักทรัพย์ ได้โอนกรรมสิทธิ์ไปยังผู้ให้ยืมเพื่อ |
| |เป็นประกันการยืมหลักทรัพย์ (ไม่รวมทรัพย์สินที่บริษัทยังมีกรรมสิทธิ์ |
| |แต่นำไปจำนำไว้กับผู้ให้ยืม หรือ L/C, L/G ที่บริษัทขอให้ธนาคาร |
| |พาณิชย์ออกให้แก่ผู้ให้ยืม) ทั้งนี้ ทรัพย์สินที่เป็น "หลักประกัน" |
| |ดังกล่าวให้คำนวณมูลค่าเช่นเดียวกับ "หลักประกัน" ตามข้อ |
| |5.1.2 |
| | |
| ค. ค่าความเสี่ยง |ค่าความเสี่ยงของหลักประกัน ให้คำนวณโดยใช้อัตราเช่นเดียวกับ |
| |ที่กำหนดตามข้อ 5.1.2 |
| | |
| 6.1 กรณีปกติ |หมายถึง กรณีที่หลักประกันที่บริษัทวางไว้กับคู่สัญญามีมูลค่าหลัง |
| |หักค่าความเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 120 ของมูลค่าหลักทรัพย์ที่ยืม ทั้งนี้ |
| |ในช่อง ก. ข.และ ค. ให้แสดงยอดผลรวมของหลักทรัพย์ที่ยืม |
| |หลักประกัน และค่าความเสี่ยง ตามลำดับของคู่สัญญาทุกรายที่เข้า |
| |"กรณีปกติ" ดังกล่าว และให้ใช้มูลค่าหลักประกันตามช่อง ข.เป็น |
| |สินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิในช่อง 6.1 |
| | |
| 6.2 กรณีวางหลักประกัน |หมายถึง กรณีที่หลักประกันที่บริษัทวางไว้คู่สัญญามีมูลค่าหลังหักค่า |
| ไว้เกิน |ความเสี่ยงเกินร้อยละ 120 ของมูลค่าหลักทรัพย์ที่ยืม ทั้งนี้ ในช่อง |
| |ก. ข.และ ค. ให้แสดงยอดผลรวมของหลักทรัพย์ที่ยืม หลักประกัน |
| |และค่าความเสี่ยง ตามลำดับของคู่สัญญาทุกรายที่เข้า "กรณีวางหลัก |
| |ประกันไว้เกิน" ดังกล่าว และให้นับเฉพาะมูลค่าหลักประกันส่วนที่ไม่ |
| |เกินร้อยละ 120 ของมูลค่าหลักทรัพย์ที่ยืม บวกด้วย ค่าความเสี่ยง |
| |ของหลักประกันเป็นสินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิ (สินทรัพย์สภาพคล่อง |
| |สุทธิในช่อง 6.2 เท่า เท่ากับ 120% ของหลักทรัพย์ที่ยืมตามช่อง |
| |ก.บวกด้วย ค่าความเสี่ยงของหลักประกันตามช่องค.) |
|การปรับค่าความเสี่ยงอื่น | |
| | |
|7. ความเสี่ยง : จากการกระ |เกิดจากการที่บริษัทให้ลูกค้ากู้เงินเพื่อซื้อหลักทรัพย์ในจำนวนที่ |
| จุกตัวของลูกหนี้ธุรกิจ |เกินกว่า กรณีใดกรณีหนึ่ง ดังนี้ |
| หลักทรัพย์ | ร้อยละ 15 ของเงินกองทุน ในกรณีที่เงินกองทุน > |
| | 100 ล้านบาท |
| | - 15 ล้านบาท ในกรณีที่เงินกองทุน < 100 ล้านบาท |
| | |
| ก. มูลหนี้ |มูลหนี้ของลูกหนี้รายที่เข้าเกณฑ์กระจุกตัวทั้งหมด |
| | |
| ข. เงินกองทุน |ส่วนของผู้ถือหุ้นตามงบการเงินสำหรับงวดบัญชีล่าสุดที่ผ่านการ |
| |ตรวจสอบที่สำนักงานให้ความเห็นชอบ (ในกรณีของบริษัทเงินทุน |
| |หลักทรัพย์ ให้ใช้ทุนที่จัดสรรไว้ในบัญชีด้านธุรกิจหลักทรัพย์ หรือ |
| |ส่วนของผู้ถือหุ้น ซึ่งปรากฎตามงบแยกธุรกิจ ณ วันสิ้นงวดบัญชี |
| |ล่าสุดของงวดบัญชีที่ต้องมีการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี แล้วแต่ |
| |จำนวนใดจะต่ำกว่า) |
| | |
| ค. ค่าความเสี่ยง |- กรณีที่เงินกองทุน > 100 ล้านบาท |
| | ค่าความเสี่ยง = ผลรวมของ [10% ของ (มูลหนี้ของลูกหนี้ |
| | ที่เข้าเกณฑ์กระจุกตัวแต่ละราย-15% ของเงินกองทุน) |
| |- กรณีที่เงินกองทุน < 100 ล้านบาท |
| | ค่าความเสี่ยง = ผลรวมของ [10% ของ (มูลหนี้ของลูกหนี้ |
| | ที่เข้าเกณฑ์กระจุกตัวแต่ละราย-15 ล้านบาท) |
| | |
|8. ความเสี่ยง : จากการมี |ให้คำนวณค่าความเสี่ยงของแต่ละคู่สัญญา ดังนี้ |
| ธุรกรรมขายหลักทรัพย์โดยมี | |
| สัญญาจะซื้อคืน | |
| | |
| ก. หลักทรัพย์ |ใช้มูลค่าตามราคาตลาด ณ วันที่รายงานของหลักทรัพย์ขายโดยมี |
| |สัญญาซื้อคืน ถ้าไม่มีให้ใช้ราคาอื่นที่เหมาะสม |
| | |
| ข. ราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน |เท่ากับราคาขาย บวกด้วย ดอกเบี้ยค้างจ่าย ณ วันที่รายงาน |
| |ดอกเบี้ยค้างจ่าย = ราคาขาย x อัตราดอกเบี้ยซื้อคืน x ระยะเวลา |
| |ตั้งแต่วันที่ขายหลักทรัพย์ถึงวันที่รายงาน/365 วัน |
| 8.1 กรณีปกติ |หมายถึง กรณีที่หลักทรัพย์ที่ขาย (ซึ่งเป็นเสมือนหลักประกันการ |
| |ชำระคืนหนี้) มีมูลค่าไม่เกินร้อยละ150 ของราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน |
| |(ซึ่งเปรียบเสมือนมูลหนี้) ในช่อง ก. และ ข. ให้ใช้ผลรวมของ |
| |หลักทรัพย์ และราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน ตามลำดับ ของธุรกรรมขาย |
| |หลักทรัพย์ โดยมีสัญญาซื้อคืนทุกรายการที่เข้า "กรณีปกติ" ซึ่งในกรณี |
| |นี้ไม่มีการคิดค่าความเสี่ยง |
| | |
| 8.2 กรณีหลักประกัน> |หมายถึง กรณีที่หลักทรัพย์ที่ขาย (ซึ่งเป็นเสมือนหลักประกันการ |
| 150% มูลหนี้ |ชำระคืนหนี้) มีมูลค่าเกินร้อยละ 150 ของราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน |
| |(ซึ่งเปรียบเสมือนลูกหนี้) ในช่อง ก. และ ข. ให้ใช้ผลรวมของ |
| |หลักทรัพย์และราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน ตามลำดับของธุรกรรมขาย |
| |หลักทรัพย์ โดยมีสัญญาซื้อคืนทุกรายการที่เข้ากรณี "หลักประกัน > |
| |150% มูลหนี้" และในกรณีนี้ ให้คิดว่าความเสี่ยงในช่อง 8.เท่ากับ |
| |มูลค่าหลักประกันส่วนที่เกิน คือ เท่ากับ "มูลค่าหลักทรัพย์" ตาม |
| |ช่อง ก. หักด้วย 150% ของ "ราคาซื้อคืน ณ ปัจจุบัน" ตาม |
| |ช่อง ข. |
| | |
|9. ความเสี่ยง : จากการรับ |ใช้ค่าความเสี่ยงที่คำนวณได้จาก ข้อ 3 ข. ของส่วนที่ 4 : |
| ประกันการจัดจำหน่าย |ความเสี่ยงจากการรับประกันการจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ |
| | |
|10. ความเสี่ยง : จากการมี |ใช้ค่าความเสี่ยงที่คำนวณได้จาก ข้อ 2 ค.ของส่วนที่ 5 : |
| ฐานะเงินตราต่างประเทศ |ความเสี่ยงจาการมีฐานะเงินตราต่างประเทศ |
| | |
|11. สินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิ |หมายถึง สินทรัพย์สภาพคล่อง หักด้วย ค่าความเสี่ยงทั้งหมด โดย |
| |คำนวณได้จากผลรวมของสินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิตามรายการ |
| |ในข้อ 1 ถึง ข้อ 6 หักด้วย ผลรวมของค่าความเสี่ยงตาม |
| |รายการในข้อ 7 ถึง ข้อ 10 |
| | |
|12. หนี้สินรวม |ใช้หนี้สินรวมที่คำนวณได้จากข้อ 8 ของส่วนที่ 2 : หนี้สิน |
| | |
|13. เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิ |หมายถึง สินทรัพย์สภาพคล่องสุทธิ หักด้วย หนี้สินรวม ซึ่งคำนวณ |
| |ได้จากรายการในข้อ 11 หักด้วยรายการในข้อ 12 |
| | |
|14. หนี้สินทั่วไป |ใช้หนี้สินทั่วไปที่คำนวณได้จากข้อ 14 ส่วนที่ 2 : หนี้สิน |
| | |
|15. อัตราส่วนเงินกองทุน |หมายถึง อัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิที่ บล.ต้องดำรง |
| สภาพคล่องสุทธิต่อหนี้สิน |ให้ได้ตามอัตราที่กำหนด โดยคำนวณได้จากเงินกองทุนสภาพคล่อง |
| ทั่วไป |สุทธิตามข้อ 13 หารด้วย หนี้สินทั่วไปตามข้อ 14 และให้แสดง |
| |ค่าเป็นอัตราร้อยละ (%) |
|_____________________________________________________________________________|
(ยังมีต่อ)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ