ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
เรื่อง แบบงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน
—————————————————
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 106 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกข้อกำหนดไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้บริษัทหลักทรัพย์ ใช้แบบงบดุล และแบบบัญชีกำไรขาดทุนตามแบบท้ายประกาศนี้ คือ แบบ บ.ล.1 และ แบบ บ.ล. 1.1 ตามลำดับ ทั้งนี้ ในการจัดทำงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนให้บริษัทหลักทรัพย์ถือปฎิบัติตามคำชี้แจงท้ายประกาศนี้ด้วย
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่สิ้นงวดการบัญชีวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายเอกกมล คีรีวัฒน์)
เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบ บ.ล.1
บริษัทหลักทรัพย์ ...................... จำกัด
งบดุล
ณ วันที่ .................... 25..... และ 25.....
สินทรัพย์
25..... 25.....
บาท บาท1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 000 000 2. เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน 000 0003. หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืน 000 0004. เงินลงทุนในหลักทรัพย์
4.1 หลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน 000 000
4.2 หลักทรัพย์จดทะเบียน 000 000
4.3 หลักทรัพย์อื่น 000 000
___ ___
รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ 000 000
___ ___ 5. บัญชีระหว่างบริษัทหลักทรัพย์ 000 0006. ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 000 0007. ดอกเบี้ยค้างรับ 000 000
___ ___
รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ 000 0008. หัก จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 000
__ ___ ___
รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ 000 000
___ ___ 9. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 000 00010. สินทรัพย์อื่น 000 000
___ ___
รวมสินทรัพย์ 000 000
=== ===
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
25..... 25.....
บาท บาท
11. เงินกู้ยืม
11.1 จากธนาคาร 000 000
11.2 จากสถาบันการเงิน 000 000
___ ___
รวมเงินกู้ยืม 000 000
___ ___12. หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน 000 00013. บัญชีระหว่างบริษัทหลักทรัพย์ 000 00014. บัญชีลูกค้า 000 00015. หนี้สินอื่น 000 000
___ ___
รวมหนี้สิน 000 000
___ ___ 16. ส่วนของผู้ถือหุ้น
16.1 ทุนเรือนหุ้น
16.1.1 ทุนจดทะเบียน 000 000
___ ___
16.1.2 ทุนที่ออกและชำระแล้ว 000 000
16.2 ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น 000 000
16.3 กำไรสะสม
16.3.1. จัดสรรแล้ว
16.3.1.1 สำรองตามกฎหมาย 000 000
16.3.1.2 สำรองอื่น 000 000
16.3.2. ยังไม่ได้จัดสรร 000 000
___ ___
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
___ ___
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
___ ___
................... ....................
(กรรมการ) (กรรมการ)
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบ บ.ล. 1.1
บริษัทหลักทรัพย์ ...................... จำกัด
บัญชีกำไรขาดทุน
สำหรับงวด .......... สิ้นสุดวันที่ ................... 25..... และ 25.....
25..... 25.....
บาท บาท
1. รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์
1.1 ค่านายหน้าและค่าธรรมเนียม 000 000
1.2 กำไร (ขาดทุน) จากการซื้อขายหลักทรัพย์ 000 000
1.3 ดอกเบี้ยและเงินปันผลจากหลักทรัพย์ 000 000
1.4 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม 000 000
___ ___
รวมรายได้ธุรกิจหลักทรัพย์ 000 000
___ ___ 2. ค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์
2.1 ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 000 000
2.2 ค่านายหน้าและค่าธรรมเนียม 000 000
___ ___
รวมค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์ 000 000
___ ___
รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์สุทธิ 000 0003. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 000
___ ___
รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์สุทธิหลังหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 0004. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 000 0005. รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น 000 000
___ ___ 6. กำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าภาษีเงินได้และรายการพิเศษ 000 0007. ค่าภาษีเงินได้ 000 000
___ ___ 8. กำไร (ขาดทุน) ก่อนรายการพิเศษ 000 0009. รายการพิเศษ 000 000
___ ___ 10. กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 000 000
___ ___ 11. กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น
11.1 กำไร (ขาดทุน) ก่อนรายการพิเศษ 000 000
11.2 รายการพิเศษ 000 000
11.3 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 000 000
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
บริษัท ..............................
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ .................... 25..... และ 25......
25..... 25...
บาท บาท
1. ทุนหุ้นสามัญ
1.1 ยอดต้นงวด 000 000
1.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
1.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
1.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 2. ทุนหุ้นบุริมสิทธิ์
2.1 ยอดต้นงวด 000 000
2.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
2.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
2.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 3. ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น
3.1 ยอดต้นงวด 000 000
3.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
3.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
3.4 ยอดปลายงวด 000 000
4. สำรองตามกฎหมาย
4.1 ยอดต้นงวด 000 000
4.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
4.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
4.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 5. สำรองอื่น
5.1 ยอดต้นงวด 000 000
5.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
5.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
5.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 6. กำไรที่ยังไม่ได้จัดสรร
6.1 ยอดต้นงวด 000 000
6.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
6.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
6.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
=== ===
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
บริษัท ..............................
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
สำหรับงวด ....... สิ้นสุดวันที่ ............. 25..... และ 25.....
25..... 25...
บาท บาท
แหล่งเงินทุน
จากการดำเนินงาน
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนที่ได้จากการดำเนินงาน 000 000
___ ___
จากแหล่งอื่น
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนได้มา 000 000
___ ___
การใช้เงินทุน
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนใช้ไป 000 000
___ ___
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน
คำชี้แจง
1.ให้บริษัทหลักทรัพย์ จัดทำงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งรวมถึงงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินตามแบบ และประกาศงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนไว้ในที่เปิดเผย ณ สำนักงานของบริษัทและลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน โดยให้แสดงรายงานของผู้สอบบัญชีไว้ด้วย แต่ในการลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน อาจไม่แสดง หมายเหตุประกอบงบการเงินก็ได้ เว้นแต่กรณีที่รายงานของผู้สอบบัญีอ้างถึงหมายเหตุประกอบ งบการเงินใด โดยไม่ระบุจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องก็ให้แสดงหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีอ้างถึงนั้นไว้ด้วย
2.ในการจัดทำงบการเงินดังกล่าวข้างต้น ให้เป็นไป โดยครบถ้วนถูกต้องตามความเป็นจริง และเป็นไปตามคำอธิบายความหมายของรายการตามแนบ โดยให้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและมาตรฐานการบัญชีที่สมาคมนักบัญชี และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยกำหนด (รวมร่างมาตรฐานการบัญชี) ในกรณีที่สมาคมฯ ยังไม่ได้กำหนดให้ปฏิบัติตามลำดับ ดังนี้
2.1 ใช้มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศของ International Accounting Standards Committee
2.2 ใช้มาตรฐานการบัญชีของ American Institute of Certified Public Accountants หรือ Financial Accounting Standards Board
ในกรณีที่ใช้มาตรฐานตาม 2.1 หรือ 2.2 ให้ระบุที่มาของมาตรฐานการบัญชีที่ใช้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินด้วย
3. ให้มีหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยตามรายการที่กำหนดตามแบบ
4. ตามงบการเงินที่กำหนด หมายเลขกำกับรายการไม่ต้องแสดง และรายการใดที่ไม่มีก็ไม่ต้องแสดงรายการนั้น
5. หากบริษัทประสงค์จะแยกแสดงรายการใดในงบการเงินตามแบบที่กำหนดไว้ก็ให้กระทำได้ และหากมีรายการที่จะแสดงนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ ก็ให้แสดงรายการนั้น ๆ ตามความเหมาะสมและถูกต้องตามประเภทของรายการที่กำหนด
ทั้งนี้ โดยให้กรรมการผู้มีอำนาจ กระทำการแทนบริษัทลงนามในงบดุล และบัญชีกำไรขาดทุนอย่างน้อย 2 คน
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินมี 2 ส่วน ได้แก่
1. สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
2. ข้อมูลเพิ่มเติม
-----------------
ให้บริษัทหลักทรัพย์ เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินตามที่กำหนดต่อไปนี้
1.สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีที่สำคัญอย่างน้อยในเรื่องต่อไปนี้
1.1 การรับรู้รายได้
ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้รายได้ประเภทที่สำคัญ เช่น รายได้ดอกเบี้ย เงินให้กู้ยืมกำไรจากการจำหน่ายทรัพย์สิน กำไรขาดุทนจากการซื้อขายหลักทรัพย์ และดอกเบี้ยจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์
1.2 การรับรู้ค่าใช้จ่าย
ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงิน ค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์และค่าใช้จ่ายดำเนินงานประเภทที่สำคัญ เช่น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ขาดทุนจากการจำหน่าย และการตีราคาทรัพย์สิน ซึ่งร่วมถึงทรัพย์สินรอการขาย
1.3 เงินลงทุนในหลักทรัพย์
ให้เปิดเผยเกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาหลักทรัพย์แต่ละประเภท ณ วันสิ้นงวดการบัญชี
1.4 จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ให้เปิดเผยเกณฑ์การตั้งจำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เช่น โดยการประเมินฐานลูกหนี้แต่ละราย หรือใช้ประสบการณ์ในการเก็บหนี้ เป็นต้น และเกณฑ์การตัดหนี้สูญ
1.5 ค่าเสื่อมราคา
ให้เปิดเผย ถึงวิธีการบัญชี อัตราร้อยละ หรือจำนวนปีที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาตามประเภทของสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1.6 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดรายการภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เวลาที่ต้องตัดบัญชี และเกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณ
1.7 กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึง เกณฑ์การคำนวณกำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น ในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ๆ
2. ข้อมูลเพิ่มเติม
2.1 เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25...
บาท บาท
เงินให้กู้ยืมเมื่อทวงถาม XXX XXX
เงินให้กู้ยืมเมื่อสิ้นระยะเวลา XXX XXX
___ ___
รวมเงินให้กู้ยืม XXX XXX บวก ดอกเบี้ยค้างรับ XXX XXX หัก จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ XXX XXX
___ ___
เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงินสุทธิ XXX XXX
___ ___
2.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25 ..... 25 .....
ราคาทุน ราคาทุน
บาท บาทหลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน
พันธบัตร และหุ้นกู้ XXX XXX
ตั๋วเงินคลัง XXX XXX
___ ___
รวมหลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน XXX XXX
=== ===หลักทรัพย์จดทะเบียน
ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ และหน่วยลงทุน XXX XXX XXX XXX หุ้นกู้ XXX XXX XXX XXX
___ ___ ___ ___
รวมหลักทรัพย์จดทะเบียน XXX XXX XXX XX
=== === === == หลักทรัพย์อื่น
หุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ์ XXX XXX
พันธบัตรและหุ้นกู้ XXX XXX
หัก จำนวนกันไว้เผื่อการลดค่า XXX XXX
__ ___ ___
รวมหลักทรัพย์อื่น XXX XXX
=== ===
สำหรับเงินลงทุนในหลักทรัพย์อื่น ในกรณีที่ถือหุ้นในนิติบุคคลใดตั้งแต่ร้อยละ 10 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วของนิติบุคคลขึ้นไป ให้เปิดเผยชื่อหลักทรัพย์ที่ลงทุน จำนวนเงินลงทุน จำนวนเงินที่ยังชำระไม่เต็มตามราคาตรารวมส่วนล้ำมูลค่า และสัดส่วนเงินลงทุนในแต่ละนิติบุคคล
2.3 จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ยอดต้นงวด XXX XXX
บวก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ XXX XXX
หนี้สูญได้รับคืน XXX XXX
หัก หนี้สูญตัดบัญชี XXX XXX
__ ___ ___
ยอดปลายงวด XXX XXX
=== ===
2.4 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ที่ดิน XXX XXX
อาคาร XXX XXX
อุปกรณ์ XXX XXX
สิทธิการเช่า XXX XXX
___ ___
รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ XXX XXX
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม XXX XXX
___ ___
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ XXX XXX
=== ===
2.5 สินทรัพย์อื่น
ให้เปิดเผยสินทรัพย์อื่นประเภทที่สำคัญและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
ในกรณีที่บริษัทใช้วิธีการบัญชีเงินได้ รอตัดบัญชี หรือภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า ให้เปิดเผยจำนวนภาษีเงินได้รอคัดบัญชีภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้าด้วย
2.6 เงินกู้ยืม
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
(1) กรณีที่มีการกู้ยืมเงินเป็นเงินตราต่างประเทศ ให้แสดงจำนวนเงินกู้ยืม เป็นเงินตราต่างประเทศรายสกุลและเงินบาท รวมทั้งให้เปิดเผยอัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ และการทำสัญญาประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน
(2) ในกรณีเงินกู้ยืมมีเงื่อนไขหรือข้อจำกัด ให้เปิดเผยจำนวนเงินกู้ยืมแหล่งกู้ยืม รวมทั้งสาระสำคัญของเงื่อนไขและข้อจำกัดในการกู้ยืม เช่น การจ่ายเงินปันผล การจัดการ การเพิ่ม/ลดทุน การให้กู้ยืมเงิน
2.7 หนี้สินอื่น
ให้เปิดเผยหนี้สินอื่นประเภทที่สำคัญและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการเงินทุนเลี้ยงชีพและบำเหน็จหรือกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ในกรณีที่มีการออกหุ้นกู้ ให้เปิดเผยประเภทของหุ้นกู้ มูลค่าที่ตราไว้ จำนวนส่วนลด/ส่วนเกิน วันครบกำหนดไถ่ถอน และเงื่อนไขหรือข้อจำกัดของหุ้นกู้แต่ละประเภท
2.8 ทุนเรือนหุ้น
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
(1) ในกรณีที่บริษัทมีหุ้นบุริมสิทธิ์ ให้เปิดเผยบุริมสิทธิ์ของหุ้นนั้น
(2)ในกรณีที่บริษัทอยู่ระหว่างการเพิ่มหรือลดทุน ให้เปิดเผยจำนวนทุนที่จะเพิ่มหรือลดชนิดของหุ้น จำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้น และการดำเนินการถึงขั้นตอนใด
2.9 สัญญาเช่าระยะยาว
ให้เปิดเผยโดยสรุปเนื้อหาของสัญญา วันที่สัญญาครบกำหนด ข้อผูกพันของสัญญา และข้อห้ามต่าง ๆ ตามสัญญาดังกล่าว และจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.10 รายได้อื่น
ให้เปิดเผยรายได้อื่น ซึ่งมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 5 ของยอดรายได้รวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) โดยเปิดเผยประเภทและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.11 ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน
ให้บริษัทหลักทรัพย์เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน XXX XXX
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ์ - ค่าเสื่อมราคา XXX XXX
- อื่น ๆ XXX XXX
ค่าภาษีอากร XXX XXX
ค่าใช้จ่ายดำเนินงานอื่น XXX XXX
___ ___
รวมค่าใช้จ่ายดำเนินงาน XXX XXX
=== ===
สำหรับค่าใช้จ่ายดำเนินงานอื่น หากมีค่าใช้จ่ายประเภทใดมีจำนวนเกินกว่า ร้อยละ5 ของยอดค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) ให้แยกแสดงรายการด้วย
2.12 ค่าใช้จ่ายอื่น
ให้เปิดเผยค่าใช้จ่ายอื่นซึ่งมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 5 ของยอดค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) โดยเปิดเผยประเภทและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.13 รายการพิเศษ
ให้เปิดเผยลักษณะของเหตุการณ์ จำนวนเงิน และจำนวนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องของรายการพิเศษแต่ละเหตุการณ์
2.14 เหตุการณ์สำคัญภายหลังวันงบการเงิน
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันงบการเงิน ซึ่งอาจมีผลลกระทบต่องบการเงินในปีที่จะเสนอรายงาน พร้อมทั้งจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.15 การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี
ให้เปิดเผยถึงการเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชีจากวิธีการบัญชีที่ปฏิบัติอยู่ไปเป็นหลักการบัญชีใหม่พร้อมทั้งระบุถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้นต่อบัญชีที่เกี่ยวข้องในงบดุลและกำไร (ขาดทุน) สุทธิหลังจากปรับปรุงจำนวนภาษีที่เกี่ยวข้อง
(ยังมีต่อ)
เรื่อง แบบงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน
—————————————————
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 106 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกข้อกำหนดไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ให้บริษัทหลักทรัพย์ ใช้แบบงบดุล และแบบบัญชีกำไรขาดทุนตามแบบท้ายประกาศนี้ คือ แบบ บ.ล.1 และ แบบ บ.ล. 1.1 ตามลำดับ ทั้งนี้ ในการจัดทำงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนให้บริษัทหลักทรัพย์ถือปฎิบัติตามคำชี้แจงท้ายประกาศนี้ด้วย
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่สิ้นงวดการบัญชีวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายเอกกมล คีรีวัฒน์)
เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบ บ.ล.1
บริษัทหลักทรัพย์ ...................... จำกัด
งบดุล
ณ วันที่ .................... 25..... และ 25.....
สินทรัพย์
25..... 25.....
บาท บาท1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 000 000 2. เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน 000 0003. หลักทรัพย์ซื้อโดยมีสัญญาขายคืน 000 0004. เงินลงทุนในหลักทรัพย์
4.1 หลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน 000 000
4.2 หลักทรัพย์จดทะเบียน 000 000
4.3 หลักทรัพย์อื่น 000 000
___ ___
รวมเงินลงทุนในหลักทรัพย์ 000 000
___ ___ 5. บัญชีระหว่างบริษัทหลักทรัพย์ 000 0006. ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ 000 0007. ดอกเบี้ยค้างรับ 000 000
___ ___
รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับ 000 0008. หัก จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 000
__ ___ ___
รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และดอกเบี้ยค้างรับสุทธิ 000 000
___ ___ 9. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ 000 00010. สินทรัพย์อื่น 000 000
___ ___
รวมสินทรัพย์ 000 000
=== ===
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
25..... 25.....
บาท บาท
11. เงินกู้ยืม
11.1 จากธนาคาร 000 000
11.2 จากสถาบันการเงิน 000 000
___ ___
รวมเงินกู้ยืม 000 000
___ ___12. หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน 000 00013. บัญชีระหว่างบริษัทหลักทรัพย์ 000 00014. บัญชีลูกค้า 000 00015. หนี้สินอื่น 000 000
___ ___
รวมหนี้สิน 000 000
___ ___ 16. ส่วนของผู้ถือหุ้น
16.1 ทุนเรือนหุ้น
16.1.1 ทุนจดทะเบียน 000 000
___ ___
16.1.2 ทุนที่ออกและชำระแล้ว 000 000
16.2 ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น 000 000
16.3 กำไรสะสม
16.3.1. จัดสรรแล้ว
16.3.1.1 สำรองตามกฎหมาย 000 000
16.3.1.2 สำรองอื่น 000 000
16.3.2. ยังไม่ได้จัดสรร 000 000
___ ___
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
___ ___
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
___ ___
................... ....................
(กรรมการ) (กรรมการ)
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบ บ.ล. 1.1
บริษัทหลักทรัพย์ ...................... จำกัด
บัญชีกำไรขาดทุน
สำหรับงวด .......... สิ้นสุดวันที่ ................... 25..... และ 25.....
25..... 25.....
บาท บาท
1. รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์
1.1 ค่านายหน้าและค่าธรรมเนียม 000 000
1.2 กำไร (ขาดทุน) จากการซื้อขายหลักทรัพย์ 000 000
1.3 ดอกเบี้ยและเงินปันผลจากหลักทรัพย์ 000 000
1.4 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืม 000 000
___ ___
รวมรายได้ธุรกิจหลักทรัพย์ 000 000
___ ___ 2. ค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์
2.1 ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 000 000
2.2 ค่านายหน้าและค่าธรรมเนียม 000 000
___ ___
รวมค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์ 000 000
___ ___
รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์สุทธิ 000 0003. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 000
___ ___
รายได้ธุรกิจหลักทรัพย์สุทธิหลังหักค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 000 0004. ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 000 0005. รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น 000 000
___ ___ 6. กำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าภาษีเงินได้และรายการพิเศษ 000 0007. ค่าภาษีเงินได้ 000 000
___ ___ 8. กำไร (ขาดทุน) ก่อนรายการพิเศษ 000 0009. รายการพิเศษ 000 000
___ ___ 10. กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 000 000
___ ___ 11. กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น
11.1 กำไร (ขาดทุน) ก่อนรายการพิเศษ 000 000
11.2 รายการพิเศษ 000 000
11.3 กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 000 000
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
บริษัท ..............................
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ .................... 25..... และ 25......
25..... 25...
บาท บาท
1. ทุนหุ้นสามัญ
1.1 ยอดต้นงวด 000 000
1.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
1.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
1.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 2. ทุนหุ้นบุริมสิทธิ์
2.1 ยอดต้นงวด 000 000
2.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
2.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
2.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 3. ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น
3.1 ยอดต้นงวด 000 000
3.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
3.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
3.4 ยอดปลายงวด 000 000
4. สำรองตามกฎหมาย
4.1 ยอดต้นงวด 000 000
4.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
4.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
4.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 5. สำรองอื่น
5.1 ยอดต้นงวด 000 000
5.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
5.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
5.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___ 6. กำไรที่ยังไม่ได้จัดสรร
6.1 ยอดต้นงวด 000 000
6.2 เพิ่มระหว่างงวด 000 000
6.3 ลดระหว่างงวด 000 000
___ ___
6.4 ยอดปลายงวด 000 000
___ ___
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 000 000
=== ===
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
บริษัท ..............................
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
สำหรับงวด ....... สิ้นสุดวันที่ ............. 25..... และ 25.....
25..... 25...
บาท บาท
แหล่งเงินทุน
จากการดำเนินงาน
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนที่ได้จากการดำเนินงาน 000 000
___ ___
จากแหล่งอื่น
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนได้มา 000 000
___ ___
การใช้เงินทุน
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
.................... 000 000
___ ___
รวมเงินทุนใช้ไป 000 000
___ ___
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
แบบงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน
คำชี้แจง
1.ให้บริษัทหลักทรัพย์ จัดทำงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งรวมถึงงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินตามแบบ และประกาศงบดุลและบัญชีกำไรขาดทุนไว้ในที่เปิดเผย ณ สำนักงานของบริษัทและลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน โดยให้แสดงรายงานของผู้สอบบัญชีไว้ด้วย แต่ในการลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์รายวัน อาจไม่แสดง หมายเหตุประกอบงบการเงินก็ได้ เว้นแต่กรณีที่รายงานของผู้สอบบัญีอ้างถึงหมายเหตุประกอบ งบการเงินใด โดยไม่ระบุจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องก็ให้แสดงหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีอ้างถึงนั้นไว้ด้วย
2.ในการจัดทำงบการเงินดังกล่าวข้างต้น ให้เป็นไป โดยครบถ้วนถูกต้องตามความเป็นจริง และเป็นไปตามคำอธิบายความหมายของรายการตามแนบ โดยให้ปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและมาตรฐานการบัญชีที่สมาคมนักบัญชี และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยกำหนด (รวมร่างมาตรฐานการบัญชี) ในกรณีที่สมาคมฯ ยังไม่ได้กำหนดให้ปฏิบัติตามลำดับ ดังนี้
2.1 ใช้มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศของ International Accounting Standards Committee
2.2 ใช้มาตรฐานการบัญชีของ American Institute of Certified Public Accountants หรือ Financial Accounting Standards Board
ในกรณีที่ใช้มาตรฐานตาม 2.1 หรือ 2.2 ให้ระบุที่มาของมาตรฐานการบัญชีที่ใช้ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินด้วย
3. ให้มีหมายเหตุประกอบงบการเงิน โดยมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยตามรายการที่กำหนดตามแบบ
4. ตามงบการเงินที่กำหนด หมายเลขกำกับรายการไม่ต้องแสดง และรายการใดที่ไม่มีก็ไม่ต้องแสดงรายการนั้น
5. หากบริษัทประสงค์จะแยกแสดงรายการใดในงบการเงินตามแบบที่กำหนดไว้ก็ให้กระทำได้ และหากมีรายการที่จะแสดงนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ ก็ให้แสดงรายการนั้น ๆ ตามความเหมาะสมและถูกต้องตามประเภทของรายการที่กำหนด
ทั้งนี้ โดยให้กรรมการผู้มีอำนาจ กระทำการแทนบริษัทลงนามในงบดุล และบัญชีกำไรขาดทุนอย่างน้อย 2 คน
———————————————————————————————————————————————————————————————————————————
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินมี 2 ส่วน ได้แก่
1. สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
2. ข้อมูลเพิ่มเติม
-----------------
ให้บริษัทหลักทรัพย์ เปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินตามที่กำหนดต่อไปนี้
1.สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ
ให้เปิดเผยนโยบายการบัญชีที่สำคัญอย่างน้อยในเรื่องต่อไปนี้
1.1 การรับรู้รายได้
ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้รายได้ประเภทที่สำคัญ เช่น รายได้ดอกเบี้ย เงินให้กู้ยืมกำไรจากการจำหน่ายทรัพย์สิน กำไรขาดุทนจากการซื้อขายหลักทรัพย์ และดอกเบี้ยจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์
1.2 การรับรู้ค่าใช้จ่าย
ให้เปิดเผยเกณฑ์การรับรู้ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงิน ค่าใช้จ่ายธุรกิจหลักทรัพย์และค่าใช้จ่ายดำเนินงานประเภทที่สำคัญ เช่น ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ขาดทุนจากการจำหน่าย และการตีราคาทรัพย์สิน ซึ่งร่วมถึงทรัพย์สินรอการขาย
1.3 เงินลงทุนในหลักทรัพย์
ให้เปิดเผยเกณฑ์ที่ใช้ในการตีราคาหลักทรัพย์แต่ละประเภท ณ วันสิ้นงวดการบัญชี
1.4 จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ให้เปิดเผยเกณฑ์การตั้งจำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เช่น โดยการประเมินฐานลูกหนี้แต่ละราย หรือใช้ประสบการณ์ในการเก็บหนี้ เป็นต้น และเกณฑ์การตัดหนี้สูญ
1.5 ค่าเสื่อมราคา
ให้เปิดเผย ถึงวิธีการบัญชี อัตราร้อยละ หรือจำนวนปีที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณค่าเสื่อมราคาตามประเภทของสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
1.6 ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดรายการภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เวลาที่ต้องตัดบัญชี และเกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณ
1.7 กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึง เกณฑ์การคำนวณกำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น ในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ๆ
2. ข้อมูลเพิ่มเติม
2.1 เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25...
บาท บาท
เงินให้กู้ยืมเมื่อทวงถาม XXX XXX
เงินให้กู้ยืมเมื่อสิ้นระยะเวลา XXX XXX
___ ___
รวมเงินให้กู้ยืม XXX XXX บวก ดอกเบี้ยค้างรับ XXX XXX หัก จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ XXX XXX
___ ___
เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงินสุทธิ XXX XXX
___ ___
2.2 เงินลงทุนในหลักทรัพย์
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25 ..... 25 .....
ราคาทุน ราคาทุน
บาท บาทหลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน
พันธบัตร และหุ้นกู้ XXX XXX
ตั๋วเงินคลัง XXX XXX
___ ___
รวมหลักทรัพย์รัฐบาลและที่รัฐบาลค้ำประกัน XXX XXX
=== ===หลักทรัพย์จดทะเบียน
ราคาทุน ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ์ และหน่วยลงทุน XXX XXX XXX XXX หุ้นกู้ XXX XXX XXX XXX
___ ___ ___ ___
รวมหลักทรัพย์จดทะเบียน XXX XXX XXX XX
=== === === == หลักทรัพย์อื่น
หุ้นสามัญและหุ้นบุริมสิทธิ์ XXX XXX
พันธบัตรและหุ้นกู้ XXX XXX
หัก จำนวนกันไว้เผื่อการลดค่า XXX XXX
__ ___ ___
รวมหลักทรัพย์อื่น XXX XXX
=== ===
สำหรับเงินลงทุนในหลักทรัพย์อื่น ในกรณีที่ถือหุ้นในนิติบุคคลใดตั้งแต่ร้อยละ 10 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายแล้วของนิติบุคคลขึ้นไป ให้เปิดเผยชื่อหลักทรัพย์ที่ลงทุน จำนวนเงินลงทุน จำนวนเงินที่ยังชำระไม่เต็มตามราคาตรารวมส่วนล้ำมูลค่า และสัดส่วนเงินลงทุนในแต่ละนิติบุคคล
2.3 จำนวนกันไว้เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ยอดต้นงวด XXX XXX
บวก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ XXX XXX
หนี้สูญได้รับคืน XXX XXX
หัก หนี้สูญตัดบัญชี XXX XXX
__ ___ ___
ยอดปลายงวด XXX XXX
=== ===
2.4 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
ให้แสดงรายละเอียดตามประเภทของสินทรัพย์ ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ที่ดิน XXX XXX
อาคาร XXX XXX
อุปกรณ์ XXX XXX
สิทธิการเช่า XXX XXX
___ ___
รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ XXX XXX
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม XXX XXX
___ ___
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิ XXX XXX
=== ===
2.5 สินทรัพย์อื่น
ให้เปิดเผยสินทรัพย์อื่นประเภทที่สำคัญและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
ในกรณีที่บริษัทใช้วิธีการบัญชีเงินได้ รอตัดบัญชี หรือภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้า ให้เปิดเผยจำนวนภาษีเงินได้รอคัดบัญชีภาษีเงินได้จ่ายล่วงหน้าด้วย
2.6 เงินกู้ยืม
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
(1) กรณีที่มีการกู้ยืมเงินเป็นเงินตราต่างประเทศ ให้แสดงจำนวนเงินกู้ยืม เป็นเงินตราต่างประเทศรายสกุลและเงินบาท รวมทั้งให้เปิดเผยอัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ และการทำสัญญาประกันความเสี่ยงในอัตราแลกเปลี่ยน
(2) ในกรณีเงินกู้ยืมมีเงื่อนไขหรือข้อจำกัด ให้เปิดเผยจำนวนเงินกู้ยืมแหล่งกู้ยืม รวมทั้งสาระสำคัญของเงื่อนไขและข้อจำกัดในการกู้ยืม เช่น การจ่ายเงินปันผล การจัดการ การเพิ่ม/ลดทุน การให้กู้ยืมเงิน
2.7 หนี้สินอื่น
ให้เปิดเผยหนี้สินอื่นประเภทที่สำคัญและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการเงินทุนเลี้ยงชีพและบำเหน็จหรือกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ในกรณีที่มีการออกหุ้นกู้ ให้เปิดเผยประเภทของหุ้นกู้ มูลค่าที่ตราไว้ จำนวนส่วนลด/ส่วนเกิน วันครบกำหนดไถ่ถอน และเงื่อนไขหรือข้อจำกัดของหุ้นกู้แต่ละประเภท
2.8 ทุนเรือนหุ้น
ให้เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
(1) ในกรณีที่บริษัทมีหุ้นบุริมสิทธิ์ ให้เปิดเผยบุริมสิทธิ์ของหุ้นนั้น
(2)ในกรณีที่บริษัทอยู่ระหว่างการเพิ่มหรือลดทุน ให้เปิดเผยจำนวนทุนที่จะเพิ่มหรือลดชนิดของหุ้น จำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้น และการดำเนินการถึงขั้นตอนใด
2.9 สัญญาเช่าระยะยาว
ให้เปิดเผยโดยสรุปเนื้อหาของสัญญา วันที่สัญญาครบกำหนด ข้อผูกพันของสัญญา และข้อห้ามต่าง ๆ ตามสัญญาดังกล่าว และจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.10 รายได้อื่น
ให้เปิดเผยรายได้อื่น ซึ่งมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 5 ของยอดรายได้รวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) โดยเปิดเผยประเภทและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.11 ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน
ให้บริษัทหลักทรัพย์เปิดเผยรายละเอียด ดังนี้
25..... 25.....
(บาท) (บาท)
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน XXX XXX
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ์ - ค่าเสื่อมราคา XXX XXX
- อื่น ๆ XXX XXX
ค่าภาษีอากร XXX XXX
ค่าใช้จ่ายดำเนินงานอื่น XXX XXX
___ ___
รวมค่าใช้จ่ายดำเนินงาน XXX XXX
=== ===
สำหรับค่าใช้จ่ายดำเนินงานอื่น หากมีค่าใช้จ่ายประเภทใดมีจำนวนเกินกว่า ร้อยละ5 ของยอดค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) ให้แยกแสดงรายการด้วย
2.12 ค่าใช้จ่ายอื่น
ให้เปิดเผยค่าใช้จ่ายอื่นซึ่งมีจำนวนเกินกว่าร้อยละ 5 ของยอดค่าใช้จ่ายรวม (ไม่รวมรายการพิเศษ) โดยเปิดเผยประเภทและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.13 รายการพิเศษ
ให้เปิดเผยลักษณะของเหตุการณ์ จำนวนเงิน และจำนวนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องของรายการพิเศษแต่ละเหตุการณ์
2.14 เหตุการณ์สำคัญภายหลังวันงบการเงิน
ให้เปิดเผยโดยสรุปถึงเนื้อหาของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลังวันงบการเงิน ซึ่งอาจมีผลลกระทบต่องบการเงินในปีที่จะเสนอรายงาน พร้อมทั้งจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง
2.15 การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี
ให้เปิดเผยถึงการเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชีจากวิธีการบัญชีที่ปฏิบัติอยู่ไปเป็นหลักการบัญชีใหม่พร้อมทั้งระบุถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงข้างต้นต่อบัญชีที่เกี่ยวข้องในงบดุลและกำไร (ขาดทุน) สุทธิหลังจากปรับปรุงจำนวนภาษีที่เกี่ยวข้อง
(ยังมีต่อ)