ผลกระทบของลักษณะอากาศต่อการเกษตรตามภาคต่าง ๆ
ระหว่าง 06 มิถุนายน 2559 - 12 มิถุนายน 2559
ภาคเหนือ
มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยเฉพาะในช่วงวันที่ 6–7 และ 11-12 มิ.ย. อุณหภูมิต่ำสุด 21-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-36 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม.
-กล้วยไม้(ออกดอก)ควรระวังและป้องกันการระบาดของ โรคเหลืองปื้น และโรคราสนิม
-ลำไย (ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะขั้วผลและมวนลำไย
-มะขามหวาน(ติดฝัก) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะฝัก โรคราสีชมพู โรคราแป้ง
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในช่วงวันที่ 6–7 และ 11-12 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 8 - 10 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ส่วนมากทางตอนบนของภาค อุณหภูมิต่ำสุด 22-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 33-37 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม.
-ผักชนิดต่างๆ ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนใยผักและหนอนคืบกินใบ
-มะม่วง(แตกใบอ่อน-เจริญเติบโตทางใบ) ควรระวังและป้องกันการระบาดของแมลงค่อมทอง ด้วงกรีดใบ
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
ภาคกลาง
ในช่วงวันที่ 6–7 และ 11-12 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ ส่วนในวันที่ 8–10 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด 24-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 34-38 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม. /ชม.
-องุ่น(ติดผล)ควรระวังและป้องกันการระบาดเหนอนกระทู้หอม โรคราสนิม
-ข้าวนาปี (ระยะกล้าถึงแตกกอ) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนกระทู้ โรคไหม้
-ส้มโอ(ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันของไรสนิม ไรขาว หนอนเจาะผล
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
ภาคตะวันออก
มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ ตลอดช่วง และมีฝนตกหนักบางแห่ง โดยเฉพาะในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. อุณหภูมิต่ำสุด 24-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-37 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม. /ชม.
-ทุเรียน(เก็บเกี่ยวผลผลิต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะผล หนอนเจาะลำต้นทุเรียน โรครากเน่า-โคนเน่า
-ลองกอง (เก็บเกี่ยวผลผลิต)ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนกินใต้ผิวเปลือก
-มังคุด(เก็บเกี่ยวผลผลิต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของอาการผลแตกเนื้อแก้ว
-เงาะ(เก็บเกี่ยวผลผลิต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะขั้วผล โรคผลเน่า
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก)
ในช่วงวันที่ 6-10 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ส่วนในวันที่ 11–12 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด 21-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-37 องศาเซลเซียส -ทุเรียน(ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของ หนอนกินขั้วผล หนอนเจาะผล หนอนเจาะลาต้นทุเรียน
-มะพร้าว (ทุระยะการเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของแมลงดำหนาม
-เงาะ(ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะขั้วผล
-ยางพาราควรรัวังและป้องกันการระบาดของโรคราสีชมพูและโรคเส้นดำ
-กาแฟควรระวังและป้องกันการระบาดของโรคราสนิม
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก)
ในช่วงวันที่ 6-10 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 20-30 ของพื้นที่ ส่วนในวันที่ 11–12 มิ.ย. มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 70-80 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่ำสุด 22-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 29-35 องศาเซลเซียส -ทุเรียน(ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของ หนอนกินขั้วผล หนอนเจาะผล หนอนเจาะลาต้นทุเรียน
-มะพร้าว (ทุระยะการเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของแมลงดำหนาม
-เงาะ(ผลเจริญเติบโต) ควรระวังและป้องกันการระบาดของหนอนเจาะขั้วผล
-ยางพาราควรรัวังและป้องกันการระบาดของโรคราสีชมพูและโรคเส้นดำ
-กาแฟควรระวังและป้องกันการระบาดของโรคราสนิม
ปริมาณฝนสะสมเดือนมิถุนายน ฝนที่ตกสะสมในเดือนนี้ยังมีปริมาณไม่มาก โดยบริเวณที่มีฝนตกส่วนใหญ่จะอยู่ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกและบางพื้นที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปริมาณฝนสะสม 7 วันที่ผ่านมา ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกในหลายพื้นที่ โดยมีฝนตกหนักมากที่สุดบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี
ศักย์การคายระเหยน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาศักย์การคายระเหยน้ำสะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีค่าสูง ซึ่งจะทำให้เกิดการสูญเสียน้ำจากดินและพืชมากกว่าบริเวณอื่น โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20-40 มม. ส่วนบริเวณอื่นๆมีค่าอยู่ในช่วง 10-30 มม.
สมดุลน้ำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมามีฝนตกหลายพื้นที่ โดยปริมาณฝนที่ตกมีค่ามากกว่าปริมาณน้ำที่ระเหยจากดินและการคายน้ำของพืช ทำให้ในหลายพื้นที่มีค่าสมดุลน้ำเป็นบวก ยกเว้นบริเวณภาคกลางและด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณตอนล่างของภาคใต้ฝั่งตะวันออก
คำแนะนำ ในช่วง 7 วันที่ผ่านมาหลายพื้นที่ของประเทศไทยมีฝนตก เช่น ในภาคเหนือ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ทำให้สมดุลย์น้ำเพิ่มขึ้นอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถเริ่มทำการเพาะปลูกได้ แต่ในบางพื้นที่ปริมาณฝนที่ตกยังไม่เพียงพอ ประกอบกับในช่วงวันที่ 6-7 และ 11-12 มิ.ย. จะมีฝนตกชุกในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก สำหรับเกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุ์หรือชุบท่อนพันธุ์ด้วยสารป้องกันเชื้อรา และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสะสมภายในแปลงปลูกเป็นสาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกจะมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในช่วงวันที่ 11-12 มิ.ย. ชาวสวนควรดูแลสวนให้โปร่งอากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นสะสมภายในสวนป้องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กรมอุตุนิยมวิทยา 0-2399-4568-74