พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร 7 วันข้างหน้า
ระหว่างวันที่ 6 - 12 กันยายน พ.ศ.2564
ออกประกาศวันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ.2564
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 108/64
การคาดหมายลักษณะอากาศ ในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาค/ ตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่าบริเวณทะเลจีนใต้ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยจะมีก่าลังแรงขึ้น ท่าให้ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้นและมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 11-12 ก.ย. 64 ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ้นมาพาดภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ในขณะที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่ยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทยท่าให้ประเทศไทยมีฝนลดลง แต่ยังคงมีฝนฟ์าคะนองเกิดขึ้นและมีฝนตกหนักบางแห่งส่าหรับในช่วงวันที่ 7-12 ก.ย. 64 คลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันและอ่าวไทยจะมีก่าลังแรงขึ้น โดยบริเวณทะเลอันดามันมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร
คำเตือน ในช่วงวันที่ 7-12 ก.ย. 64 ขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย ระวังอันตรายจากสภาวะฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน และน่าป่าไหลหลากได้ ส่าหรับชาวเรือและชาวประมงบริเวณทะเลอันดามันควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ
คำแนะนำสำหรับการเกษตร
ภาคเหนือ
มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 70-80 ของพื้นที่ ตลอดช่วง กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่าสุด 22-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95% ความยาวนานของแสงแดด 2-5 ชั่วโมง
- ระยะนี้ฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน และน่าป่าไหลหลากได้ รวมทั้งควรระวังและป์องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักต่างๆ เชน โรคราสนิมในกาแฟ โรครากเนาโคนเนาในล่าไยและลิ้นจี่ เปนตน ส่าหรับเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะสัตว์ปีก ควรหมั่นส่ารวจดูแลสัตว์เลี้ยงอย่างสม่าเสมอ หากพบสัตว์เลี้ยงป่วย ควรรีบแยกสัตว์เลี้ยงตัวที่ป่วยออกจากกลุ่ม แล้วท่าการรักษาก่อนที่แพร่ระบาดไปยังตัวอื่นๆ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 70-80 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักถึงหนักมากบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 11-12 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่าสุด 22-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-34 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% ความยาวนานของแสงแดด 2-5 ชั่วโมง
- ระยะนี้มีฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักถึงหนักมากในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะฝนตกหนักและฝนที่ตกสะสม ชึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลันและน่าป่าไหลหลากได้ โดยดูแลระบบระบายน่าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป์องกันน่าท่วมขังเมื่อมีฝนตกหนัก ส่วนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ ไม่ควรปล่อยให้สัตว์เลี้ยงอยู่ในที่ชื้นแฉะเป็นเวลานาน เพราะจะท่าให้สัตว์เลี้ยงอ่อนแอ และเป็นโรคได้ง่าย โดยเฉพาะโรคปากและเท้าเปื่อยในสัตว์เท้ากีบ เช่น โค และกระบือ เป็นต้น
ภาคกลาง
ในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 70-80 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 11-12 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่าสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-34 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานของแสงแดด 2-6 ชั่วโมง - ระยะนี้ฝนตกต่อเนื่องและมีฝนตกหนักในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะน่าท่วมฉับพลัน และน่าเหนือไหลหลากไว้ด้วย โดยดูแลระบบระบายน่าให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป์องกันน่าท่วมขังเมื่อฝนตกหนัก ส่าหรับฝนที่ตกติดต่อกันท่าให้ดินและอากาศมีความชื้นสูง ซึ่งเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคแอนแทรกโนสในกลวยไมโรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล เป็นต้น
ภาคตะวันออก
มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ตลอดช่วง โดยในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 มีฝนตกหนักมากบางแห่ง อุณหภูมิต่าสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-34 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 7-12 ก.ย. 64 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานของแสงแดด 2-5 ชั่วโมง
- ระยะนี้ยังคงมีฝนตกหนักถึงหนักมากในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องกันความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน และน่าป่าไหลหลากได้ ส่าหรับเกษตรกรที่ปลูกไม้ผลและยางพารา ควรระวังและป์องกันโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่น โรครากเน่าโคเน่าในไม้ผล และโรคหนากรีดยางในยางพารา เป็นต้น สวนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตวน่าในบ่อเลี้ยง ไมควรปล่อยให้น่าฝนที่ตกบนดินไหลลงบอโดยตรง เพราะจะท่าใหสภาพน่าเปลี่ยน สัตว์น่าปรับตัวไมทัน ออนแอ และเปนโรคไดง่าย รวมทั้งควรเปิดเครื่องตีน่า หลังจากฝนตก
ภาคใต้
ฝั่งตะวันออก ในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 11-12 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่าสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-34 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 7-12 ก.ย. 64 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90 % ความยาวนานของแสงแดด 4-7 ชั่วโมง
ฝั่งตะวันตกในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 60-80 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ส่วนในช่วงวันที่ 11-12 ก.ย. 64 มีฝนฟ์าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่าสุด 19-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-34 องศาเซลเซียส ในช่วงวันที่ 7-12 ก.ย. 64 ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ความชื้นสัมพัทธ์ 85-95 % ความยาวนานของแสงแดด 3-7 ชั่วโมง
- ในช่วงวันที่ 7-10 ก.ย. จะมีฝนตกหนักในบางพื้นที่ เกษตรกรควรระวังอันตรายและป์องความเสียหายจากสภาวะดังกล่าว ซึ่งอาจก่อให้เกิดน่าท่วมฉับพลัน และน่าป่าไหลหลากได้ ส่าหรับบริเวณที่มีฝนตกติดต่อกัน เกษตรกรควรระวังและป์องกันการระบาดของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราในพืชสวน เช่น โรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล โรคราสีชมพูในลองกอง โรคหนากรีดยางในยางพารา เป็นต้น อนึ่ง บริเวณทะเลอันดามัน จะมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ์าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ชาวเรือและชาวประมงควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ
ระหว่างวันทึ่ 30 สิงหาคม - 5 กันยายน 2564 ร่องมรสุมพาดผ่านภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ ต่อจากนั้นร่องมรสุมดังกล่าวได้เลื่อนขึ้นไปพาดผ่านภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน และประเทศลาวตอนบนเข้าสู่หย่อมความกดอากาศต่าบริเวณอ่าวตังเกี๋ยและบริเวณประเทศเวียดนามตอนบนตามล่าดับ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีก่าลังปานกลางในระยะครึ่งหลังของสัปดาห์ ลักษณะดังกล่าวท่าให้ประเทศไทยตอนบนมีฝนชุกหนาแน่นเกือบตลอดสัปดาห์ และมีรายงานน่าท่วมฉับพลันในบางพื้นที่ ส่วนภาคใต้มีฝนลดลงในระยะครึ่งหลังของสัปดาห์
ภาคเหนือ มีฝนร้อยละ 60-80 ของพื้นที่กับมีฝนหนักบางแห่งตลอดสัปดาห์ และมีฝนหนักมากบางพื้นที่ในวันที่ 1 ก.ย. โดยมีรายงานน่าท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดตากในวันที่ 30 ส.ค. และ 1 ก.ย. จังหวัดก่าแพงเพชรในวันที่ 1 ก.ย. และจังหวัดพิษณุโลกและแม่ฮ่องสอนในวันที่ 3 ก.ย. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีฝนมากกว่าร้อยละ 75 ของพื้นที่ เว้นแต่ในวันที่ 30 ส.ค. และ 1 ก.ย. มีฝนร้อยละ 45-60 ของพื้นที่ กับมีฝนหนักบางแห่งตลอดสัปดาห์ และมีฝนหนักมากบางพื้นที่ในวันที่ 31 ส.ค., 1, 2 และ 4 ก.ย. โดยมีรายงานน่าท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดนครราชสีมาในวันที่ 4 ก.ย. และจังหวัดเลยในวันที่ 4-5 ก.ย. และมีรายงานลมกระโชกแรงบริเวณจังหวัดบึงกาฬในวันที่ 1 ก.ย. ภาคกลาง มีฝนมากกว่าร้อยละ 80 ของพื้นที่ เว้นแต่ในวันที่ 30 ส.ค., 3 และ 5 ก.ย. มีฝนร้อยละ 30-60 ของพื้นที่ กับมีฝนหนักบางแห่งตลอดสัปดาห์ และมีฝนหนักมากบางพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์ โดยมีรายงานน่าท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดกาญจนบุรีในวันที่ 1 ก.ย. จังหวัดสุพรรณบุรีในวันที่ 2 ก.ย. และจังหวัดอ่างทองในวันที่ 3 ก.ย. ภาคตะวันออก มีฝนร้อยละ 50 ของพื้นที่ในวันแรกของสัปดาห์ จากนั้นมีฝนมากกว่าร้อยละ 70 ของพื้นที่กับมีฝนหนักบางแห่ง และมีฝนหนักมากบางพื้นที่ในวันที่ 31 ส.ค., 1 และ 2 ก.ย. โดยมีรายงานน่าท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดระยองในวันที่ 30 ส.ค. จังหวัดปราจีนบุรีในวันที่ 3 ก.ย. และจังหวัด ชลบุรีในวันที่ 2 ก.ย. ภาคใต้ฝั่งตะวันออก มีฝนร้อยละ 65-75 ของพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์กับมีฝนหนักบางแห่ง จากนั้นมีฝนลดลงอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ 20-45 ของพื้นที่ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีฝนมากกว่าร้อยละ 85 ของพื้นที่ในระยะครึ่งแรกของสัปดาห์กับมีฝนหนักบางแห่ง และมีฝนหนักมากในวันที่ 1 ก.ย. โดยมีรายงานน้ำท่วมฉับพลันบริเวณจังหวัดพังงาในวันที่ 2 ก.ย. ส่วนในระยะครึ่งหลังของสัปดาห์มีฝนลดลงอยู่ในเกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 15 ของพื้นที่
สัปดาห์ที่ผ่านมา มีฝนตกหนักมากบริเวณจังหวัดพิจิตร หนองคาย นครพนม ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ขอนแก่น อุบลราชธานี ยโสธร อุทัยธานี ชัยนาท กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี ราชบุรี สมุทรปราการ ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด และระนอง ส่วนบริเวณจังหวัดที่มีฝนตกหนัก ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ล่าปาง น่าน อุตรดิตถ์ ตาก สุโขทัย พิษณุโลก ก่าแพงเพชร เพชรบูรณ์ เลย อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร มุกดาหาร กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อ่านาจเจริญ นครสวรรค์ สิงห์บุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นครปฐม นครนายก สระแก้ว ระยอง จันทบุรี ชุมพร สุราษฏร์ธานี พัทลุง นราธิวาส พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา